TH
คู่มือการใช้งาน
TH
คู่มือการใช้งาน
470
64.1168.0790 I 002
64.1168.0790 I 002
471
วิธีที่ 3 – การปล่อยไอนํ้าแบบเร็ว (ดูรูป A)
ความเสี่ยงในการเกิดแผลไหม้จากไอ
นํ้าที่ออกมาอย่างรวดเร็ว
มีความเสี่ยงในการเกิดแผลไหม้จากไอนํ้าที่ออกมาอย่าง
รวดเร็วหรือจากอาหารที่ผ่านการปรุงโดยใช้ระบบปรุงด้วย
ไอนํ้าแบบด่วนโดยการหมุนลูกบิด (12)
⇨
ให้เขย่าหม้อเล็กน้อยก่อนเปิดหม้อ
⇨
ไม่ควรเอามือ ศีรษะหรือลําตัวเข้าใกล้ส่วนบนของฝา
หม้อ (6) หรือขอบฝา (10)
1.
ให้สัญลักษณ์เปิดฝา (22) ตรงกับเครื่องหมายด้ามจับ
หม้อ (24)
2.
หมุนลูกบิด (12) เพื่อให้ตําแหน่งของเครื่องหมายเปิด
(22) ตรงกับเครื่องหมายของด้ามจับหม้อ (24)
▶
ไอนํ้าจะออกอย่างรวดเร็ว
3.
หลังจากที่แรงดันลดลง ให้เขย่าหม้อเล็กน้อยและเปิด
หม้ออย่างระมัดระวัง
วิธีที่ 4 – ในกรณีที่ไม่มีไอนํ้าออกมา
1.
วางหม้อในอ่างล้างจานแล้วเปิดนํ้าเย็นให้ โดนฝาหม้อ
2.
หลังจากที่แรงดันลดลง ให้เขย่าหม้อเล็กน้อยและเปิด
หม้ออย่างระมัดระวัง
6.7 การเปิดฝาหม้อหลังจากการปรุงอาหาร (ดูภาพชุด E)
1.
ปล่อยแรงดันตามที่ระบุไว้ ในบทที่ 6
▶
ก่อนเปิดฝาจะต้องปล่อยไอนํ้าก่อน
2.
หมุนลูกบิด (12) เพื่อให้ตําแหน่งของเครื่องหมายเปิด
(22) ตรงกับเครื่องหมายของด้ามจับหม้อ (24)
3.
ดึงลูกบิด (12) ไปทางปลายด้ามจับ
▶
จะต้องเห็นเครื่องหมายสีเขียว (23) บนด้ามจับฝาหม้อ
4.
เขย่าหม้อเล็กน้อย
5.
ถือด้ามจับหม้อด้วยมือซ้าย
6.
ถือด้ามจับฝา (11) ด้วยมือขวาและหมุนไปทางขวาจนกว่า
ฝา (6) จะเปิด
▶
ฝาหม้อและด้ามจับหม้อจะต้องอยู่ในตําแหน่งเดียวกัน
7.
เพื่อเปิดด้ามจับฝาหม้อ 1(6) ให้เอียงฝาหม้อ (6) ลงเล็ก
น้อยเพื่อให้ไอนํ้าที่เหลือถูกปล่อยออกมาทางด้านหน้า
8.
เอาฝาออก
7. วิธีการใช้งานและการเตรียมพร้อม
7.1 การปรุงอาหารโดยใช้ตะแกรงและตะแกรงวางหม้อ
อาหารหลายชนิดสามารถปรุงในหม้ออัดแรงดันได้ ในเวลา
เดียวกัน - ขึ้นอยู่กับความสูงของหม้อ อาหารแต่ละชิ้นจะเรียง
ซ้อนอยู่ด้านบนโดยใช้ตะแกรงเหล็ก (Inserts) เช่น ถ้าปรุงเนื้อ
สัตว์ที่ด้านล่างของหม้อ ตะแกรงเหล็กวางหม้อ (Trivet) จะต้อง
อยู่ด้านล่าง และใช้ตะแกรงเหล็ก (Inserts) วางเหนือเนื้อสัตว์
เพื่อปรุงอาหารอื่น ๆ
NOTE
อุปกรณ์เสริม
การซื้ออุปกรณ์เสริมเช่น ตะแกรงเหล็ก (Inserts) และ
ตะแกรงเหล็กวางหม้อ (Trivet) จะต้องซื้อจากตัวแทน
จําหน่าย WMF เท่านั้น
ตะแกรงเหล็ก (Inserts) แบบไม่มีรูมีไว้เพื่อปรุงอาหารประเภท
ผัก ส่วนตะแกรงเหล็ก (Inserts) แบบเจาะรูมีไว้เพื่อปรุงอาหาร
ประเภทมันฝรั่ง อาหารที่ใช้เวลาในการปรุงสุกนานจะต้องวางไว้
ที่ก้นหม้อโดยไม่ใช้ตะแกรงเหล็ก
1.
เพื่อการปรุงอาหารด้วยเวลาที่แตกต่างกันจะต้องมีการเปิด
หม้อบ่อยครั้ง ในระหว่างนั้นหม้อจะปล่อยไอนํ้าออกมา ฉะนั้น
ให้เติมนํ้าให้มากกว่าที่ระบุไว้ ในหม้อ
ตัวอย่าง
/
การอบ (20 นาที) - วางที่ก้นหม้อ
/
มันฝรั่ง (8 นาที) - ใช้ตะแกรงเหล็ก (Inserts) แบบเจาะรู
/
ผัก (8 นาที) - ใช้ตะแกรงเหล็ก (Inserts) แบบไม่มีรู
2.
ให้อบเนื้อก่อนเป็นเวลา 12 นาที
3.
เปิดหม้อตามที่ระบุไว้ ในบทที่ 5.1
4.
ใส่มันฝรั่งลงไปในใช้ตะแกรงเหล็ก (Inserts) แบบเจาะรู
และวางบนอาหารที่ทําการอบอยู่ ใส่ผักลงในตะแกรงเหล็ก
(Inserts) แบบไม่มีรูและวางบนตะแกรงเหล็ก (Inserts) แบบ
เจาะรู
5.
ปิดหม้อตามที่ระบุไว้ ในบทที่ 5.3 และทําการปรุงอาหารต่อ
อีก 8 นาที
เคล็ดลับ
- หากเวลาการปรุงอาหารนั้นไล่เลี่ยกัน สามารถวาง
ตะแกรงทั้งหมดในเวลาเดียวกันได้
7.2 การย่าง
ก่อนปรุงอาหาร อาหาร (เช่น หอมใหญ่ ชิ้นเนื้อ ฯลฯ) สามารถถูกนํา
มาย่าง (Sear) ในหม้ออัดแรงดันได้เช่นเดียวกับหม้อหุงต้ม
1.
เปิดหม้อตามที่ระบุไว้ ในบทที่ 5.1 และทําการย่างอาหาร
9.
หลังจากการปรุงอาหารเสร็จสิ้น ให้ดึงตัวจ่ายไฟก่อนและลด
แรงดัน (ดูบทที่ 6.6)
10.
หลังจากที่แรงดันลดลง ให้เขย่าหม้อเล็กน้อยและเปิดหม้อ
อย่างระมัดระวัง
6.5.2 การประกอบอาหารระดับที่ 2
ระดับการปรุงอาหารอย่างรวดเร็วสําหรับอาหารอื่น ๆ
ในระดับปรุงอาหารระดับ 2 เป็นการประหยัดเวลาและพลังงานด้วย
ระดับการทําอาหารนี้ ตัวบ่งชี้ความดันจะเพิ่มขึ้นที่วงแหวนสีเขียว
ระดับ 2 หากความดันสูงเกินไปจะมีการควบคุมโดยอัตโนมัติ
1.
ตรวจสอบว่าฝาหม้อปิดสนิทหรือไม่
2.
วางหม้ออัดแรงดันบนเตา
ATTENTION
การชํารุดที่เกิดจากการใส่นํ้าลงในหม้อน้อย
เกินไป
ห้ามเปิดใช้งานหม้อโดยไม่ใส่นํ้าหรือปรับความร้อนให้สูงสุดซึ่ง
สามารถทําให้หม้อชํารุดได้
⇨
ควรใส่นํ้าในหม้อให้พอดี (อย่างตํ่า ¼ ของหม้อ)
3.
หมุนลูกบิด (12) เพื่อเพื่อตั้งการปรุงอาหารระดับที่ 2: หมุน
ลูกบิด (12) ไปทางซ้ายไปที่การปรุงอาหารระดับที่ 2
4.
ตั้งเตาในระดับสูง
▶
เพื่ออุ่นหม้อให้ร้อน
a)
อากาศจะลอดออกจากวาล์วป้องกันแรงดันจนกว่าวาล์ว
จะปิดลงและก่อแรงดันขึ้นในหม้อซึ่งเป็นระบบการปรุง
อาหารอัตโนมัติ
b)
ตัวบ่งชี้ความดันเพิ่มขึ้น การเพิ่มขึ้นสามารถสังเกตได้
จากช่องข้างตัววัดความดันและสามารถควบคุมการจ่าย
พลังงานได้ตามความเหมาะสม
c)
วงแหวนสีแดงบนตัวบ่งชี้ความดันเป็นตัวบ่งชี้ว่าไม่
สามารถเปิดหม้อได้อีก
▶
การปรุงอาหารจะเริ่มทันทีที่ตัวบ่งชี้ความดันสีเขียวจะ
แสดงเลข 2
5.
ตรวจสอบให้แน่ใจว่าตําแหน่งแหวนบนหม้ออัดแรงดันนั้นคงที่
6.
หากตัวบ่งชี้ความดัน (16) ตํ่ากว่า 2 ให้เปิดตัวจ่ายไฟ
▶
อาจเพิ่มเวลาในการปรุงอาหาร
7.
หากตัวบ่งชี้ความดัน (16) เพิ่มขึ้นเหนือวงแหวนสีเขียว 1
ระดับ แสดงว่ามีแรงดันในหม้อมากเกิน ซึ่งจะมีเสียงออก
จากอุปกรณ์ควบคุมแรงดัน
a)
ยกหม้อออกจากเตา
b)
รอจนกว่าตัวบ่งชี้แรงดันสีเขียวนั้นกลับมาอยู่ใน
ระดับที่ 1
c)
หากตัวจ่ายไฟได้รับการรีเซ็ตให้วางหม้อลงบน
เตาทันที
8.
หลังจากการปรุงอาหารเสร็จสิ้น ให้ดึงตัวจ่ายไฟก่อน
และลดแรงดัน (ดูบทที่ 6.6)
9.
หลังจากที่แรงดันลดลง ให้เขย่าหม้อและเปิดหม้อ
อย่างระมัดระวัง
6.6 การลดแรงดัน / การระบายความร้อน
วิธีที่ 1 - ใช้ความร้อนที่คงเหลือ
NOTE
การปล่อยไอร้อน
ห้ามลดแรงดันโดยใช้วิธีที่ 2, 3 และ 4 กับอาหารที่ทําให้
เกิดโฟมและอาหารที่สามารถขยายตัวได้
(เช่น พืชตระกูลถั่ว นํ้าซุปเนื้อ หรือ ธัญพืช)
1.
ยกหม้อออกจากเตา
2.
หากตัวบ่งชี้แรงดัน (16) จมหายไปในที่จับฝา ให้หมุน
ลูกบิด (12) จนกว่าตําแหน่งของเครื่องหมายเปิด (22)
ตรงกับเครื่องหมายของด้ามจับหม้อ (ดูรูป A)
3.
ดึงลูกบิด (12) ไปทางปลายด้ามจับ
▶
ไอนํ้าที่เหลือจะพุ่งออกมา
4.
หากไอนํ้าหมดแล้ว ให้เขย่าหม้อ
วิธีที่ 2 – การปล่อยไอนํ้าแบบช้า ๆ (ลดแรงดันแบบ
อัตโนมัติ - ดูรูป A)
1.
หมุนลูกบิด (12) เพื่อให้ตําแหน่งของเครื่องหมายเปิด
(22) ตรงกับเครื่องหมายของด้ามจับหม้อ (24)
▶
ไอนํ้าจะออกอย่างช้า ๆ
2.
หลังจากที่แรงดันลดลง ให้เขย่าหม้อเล็กน้อยและเปิด
หม้ออย่างระมัดระวัง