- Tha-14 -
ภาษาไทย
เวลา
ช่วงเวลาที่ใช้ความร้อนแสดงอยู่กับสูตรอาหารแล้ว
ช่วงเวลาดังกล่าว
ได้รวมความแตกต่างที่ไม่สามารถควบคุม
ๆ
ได้ในด้านรูปร่างของ
อาหาร
อุณหภูมิเริ่มต้น
และสภาพอากาศแต่ละท้องถิ่นไว้ด้วย
ควรปรุงอาหารด้วยเวลาปรุงอาหารที่น้อยที่สุดซึ่งแสดงไว้ในวิธีการ
ปรุงอาหารแล้วจึงตรวจดูว่าอาหารสุกหรือไม่
หากอาหารไม่สุก
ให้ปรุงต่อไป
การเพิ่มเวลาให้กับอาหารที่ยังไม่สุกจะทำได้ง่ายกว่า
หากอาหารนั้นสุกเกินพอดีจะไม่สามารถแก้ไขใด
ๆ
ได้
ระยะห่าง
อาหารที่มีลักษณะเฉพาะตัว
เช่น
มันฝรั่งอบ
คัพเค้ก
และออเดิร์ฟ
จะร้อนได้เร็วกว่าเมื่อจัดเรียงในเตาอบด้วยระยะห่างที่เท่ากัน
หากเป็นไปได้ควรวางอาหาร
ให้เป็นวงกลม
ในทำนองเดียวกันเมื่อวางอาหารในจานอบ
ให้วางกระจายที่ริมขอบจาน
ไม่ควรวางเรียงแถวติดกัน
ไม่ควรวางอาหารทับซ้อนกัน
เจาะ
ผิวหรือเนื้อเยื่อบนอาหารบางชนิดอาจทำให้เกิดความร้อนสะสม
ระหว่างปรุงอาหารด้วยไมโครเวฟ
ดังนั้นควรเจาะ
ขีด
หรือลอกเปลือก
ออกก่อนนำเข้าเตาอบ
เพื่อให้ไอน้ำสามารถระเหยออกมาจากอาหารได้
ไข่
:
เจาะไข่แดงสองครั้ง
และไข่ขาวหลาย
ๆ
ครั้ง
ด้วยไม้จิ้มฟัน
หอยนางรมและหอยกาบทั้งตัว
:
จิ้มด้วยไม้จิ้มฟันหลาย
ๆ
ครั้ง
ผักและมันฝรั่งทั้งหัว
:
จิ้มด้วยส้อม
แฟรงฟอตอร์และไส้กรอก
:
หากเป็นไส้กรอกรมควันและแฟรงฟอเตอร์
ให้ขีดเป็นริ้ว
และส่วนไส้กรอกสดให้จิ้มด้วยส้อม
ความเกรียม
อาหารจะมีลักษณะเหลืองเกรียมไม่เหมือนกับอาหารที่ปรุงด้วยวิธีดั้งเดิม
หรืออาหารที่ใช้ส่วนผสมที่ทำให้เกิดสีเหลืองเกรียม
อาจทาซอสสีน้ำตาล
ซอสวูสเตอร์
ซอสบาร์บีคิว
หรือผงซอสสีน้ำตาลลงบนเนื้อและไก่
เพื่อมีสีเหลืองเกรียมก็ได้
ในการผสม
ให้ผสมซอสสีน้ำตาลกับเนยเหลว
หรือมาการีนแล้วนำมาทาก่อนนำเข้าเตาอบ
ส่วนขนมปังหรือมัฟฟิน
ควรใช้น้ำตาลทรายแดงแทนน้ำตาลละเอียด
หรือสามารถแต่งหน้า
ด้วยเครื่องเทศก่อนอบ
การปิดคลุม
การปรุงอาหารโดยทั่วไป
ความชื้นจะระเหยออกมาในระหว่างการปรุงอาหาร
ด้วยไมโครเวฟ
เนื่องจากการปรุงอาหารด้วยไมโครเวฟขึ้นอยู่กับเวลาและ
ไม่ได้ใช้ความร้อนโดยตรง
ดังนั้นจึงไม่ใช่เรื่องง่ายที่สามารถควบคุมอัตรา
การระเหยของไอน้ำได้
แต่ลักษณะดังกล่าวสามารถแก้ไขได้ง่าย
ๆ
ด้วยการ
ใช้วัสดุต่าง
ๆ
มาปิดคลุมจาน
อย่างไรก็ตามหากไม่มีการระบุไว้
ควรปรุงอาหารโดยไม่ต้องปิดคลุม
ปิดด้วย
ฝาปิดชามไมโครเวฟหรือคลุมด้วยฟิล์มเพื่อให้ปิดแน่นยิ่งขึ้น
หากต้องการ
เพิ่มระดับความชุ่มชื้นให้ใช้กระดาษไขหรือผ้ากระดาษก็ได้เช่นกัน
การคน
ควรคนอาหารอย่างสม่ำเสมอระหว่างการปรุงอาหารด้วยไมโครเวฟ
เพื่อให้การคนเกิดผลดีต่ออาหาร
จึงได้กำหนดคำของลักษณะการคน
อาหารว่า
คนหนึ่งครั้ง
คนสองครั้ง
คนบ่อย
ๆ
และคนเป็นครั้งคราว
มาอธิบายจำนวนการคนที่เหมาะสม
ควรสลับอาหารที่สุกแล้วซึ่งวาง
อยู่ริมขอบจานมาวางแทนที่อาหารที่ยังไม่สุกน้อยกว่า
ซึ่งวางอยู่
ตรงกลางจาน
การพลิกและการเรียงอาหารใหม่
อาหารบางอย่างไม่สามารถคนเพื่อกระจายความร้อนได้
บางครั้งพลัง
ไมโครเวฟจะมีผลอาหารเพียงด้านเดียว
ควรพลิกหรือเรียงใหม่
เพื่อให้อาหารสุกสม่ำเสมอ
พลิกอาหารชิ้นใหญ่
เช่น
เนื้อย่าง
หรือไก่งวง
โดยทั่วไปควรพลิกหนึ่งครั้งเมื่อเวลาในการปรุงผ่านไป
ครึ่งหนึ่ง
จัดเรียงอาหารชิ้นขนาดเล็ก
เช่น
ไก่หั่นชิ้น
กุ้ง
หรือแผ่นเนื้อสับเบอร์เกอร์ใหม่
นำชิ้นอาหารที่อยู่ริมจานไปวางสลับที่กับชิ้นที่อยู่ตรงกลาง
เวลาในการรอ
การปรุงอาหารส่วนใหญ่จะดำเนินต่อไปโดยการนำความร้อนหลังจาก
ที่เตาอบไมโครเวฟปิดแล้ว
ในการปรุงเนื้อสัตว์
อุณหภูมิภายในจะเพิ่มขึ้น
5
องศาเซลเซียส
หากพักไว้พร้อมกับปิดคลุมอาหารไว้ประมาณ
10
– 20
นาที
แคสเซอโรลและผักจะใช้เวลาในการรอน้อยกว่า
แต่เวลาในการรอ
เป็นสิ่งที่จำเป็นเพื่อให้อาหารที่อยู่ตรงกลางสุกพอดีและอาหารที่อยู่ริม
ภาชนะไม่สุกจนเกินไป
การทดสอบความสุกของอาหาร
อาจใช้การทดสอบความสุกของอาหารที่ปรุงด้วยวิธีดั้งเดิมกับอาหาร
ที่ปรุงอาหารด้วยไมโครเวฟก็ได้
หากแท่งไม้สะอาดและเนื้อเค้กไม่ติดข้างถาดแสดงว่าเค้กสุกแล้ว
หากน้ำที่ไหลออกมาจากเนื้อไก่เป็นสีเหลืองใสและสามารถดึงน่อง
ไก่ออกมาได้แสดงว่าไก่สุกแล้ว
หากนำส้อมมาจิ้มเนื้อ
ถ้าเนื้อนุ่มและยุ่ยแสดงว่าเนื้อสุกแล้ว
หากเนื้อปลาเป็นเกล็ดหรือขุ่นแสดงว่าปลาสุกแล้ว
เทคนิคการปรุงอาหาร
Содержание NN-SM332M/W
Страница 2: ......
Страница 21: ......
Страница 22: ......
Страница 41: ......
Страница 42: ......
Страница 61: ......
Страница 62: ......
Страница 81: ......
Страница 82: ......
Страница 101: ......
Страница 102: ...Printed in China Panasonic Corporation 2012 Panasonic Corporation Web Site http panasonic net PN 261800311977 ...