![Guerbet DRAKON Скачать руководство пользователя страница 50](http://html1.mh-extra.com/html/guerbet/drakon/drakon_instructions-for-use-manual_2278092050.webp)
- 50 -
คำ�แนะนำ�ในก�รใช้ง�น (ต่อ)
เกลือผสมสารเฮพารินชนิดปลอดเชื้อ
หรือใส่กลับเข้าไปในที่วางของสาย
สวน ซึ่งมีสารละลายนำ้ำาเกลือผสมสารเฮพารินชนิดปลอดเชื้ออยู่
ข้อควรระวัง:
ห้ามสอดลวดนำาผ่านส่วนปลายของสายสวน เนื่องจาก
ทำาให้สายสวนเสียหายได้ เมื่อเหมาะสม เตรียมวาล์วป้องกันเลือดย้อน
กลับก่อนแล้วจึงสอดลวดนำาลงในสายสวน และดันไปยังส่วนปลายของ
สายสวน
6.
สอดหลอดสวนนำาเข้าสู่หลอดเลือดของผู้ป่วย
ติดวาล์วป้องกันเลือด
ย้อนกลับแบบหมุน (ชนิด Tuohy-Borst) เข้ากับหลอดสวนนำา และค่อย
ๆ ปล่อยสารละลายนำ้ำาเกลือผสมสารเฮพารินเข้าสู่หลอดสวนอย่างต่อเนื่อง
ควรให้ยากันเลือดเป็นลิ่ม/ยาต้านเกล็ดเลือดที่เหมาะสมตามเวชปฏิบัติ
มาตรฐาน
สอดชุดสายสวนและลวดนำาผ่านวาล์วเข้าสู่หลอดสวนนำา และดันไปยังส่วน
ปลายของหลอดสวนนำา
และเพื่อให้การสอดผ่านวาล์วป้องกันเลือดย้อน
กลับแบบหมุนและหลอดสวนนำาราบรื่น แนะนำาให้เก็บปลายลวดนำาไว้ใน
สายสวนจนกว่าสายสวนจะไปถึงส่วนปลายของหลอดสวนนำา
คำ�เตือน:
ห้ามนำาทางและ/หรือถอดสายสวนผ่านเข็มโลหะหรือเครื่อง
ถ่างโลหะ การนำาทางและ/หรือถอดสายสวนผ่านเข็มโลหะหรือเครื่อง
ถ่างโลหะอาจทำาให้สารเคลือบพื้นผิวหลุดลอก ทำาลายและ/หรือหักก้าน
ของสายสวนหลอดเลือดขนาดเล็กพิเศษ หากหลอดสวนนำาติดตั้งด้วย
สลักปิด ห้ามปิดสลักปิดที่มีสายสวนอยู่ภายในหลอดสวนนำา เนื่องจาก
สายสวนอาจหักได้ ตรวจสอบให้แน่ใจว่า หลอดสวนนำาไม่ลื่นหลุดออก
จากหลอดเลือด หากหลอดสวนนำาเลื่อนหลุดออกจากหลอดเลือดขณะ
ที่ดันสายสวนและ/หรือลวดนำาเข้าไป อาจเป็นผลให้สายสวนเกิดความ
เสียหายได้
ข้อควรระวัง:
ห้ามหมุนวาล์วป้องกันเลือดย้อนกลับบนสายสวนแน่น
เกินไป หรือพยายามดันสายสวนผ่านวาล์วที่ปิดแน่น เนื่องจากอาจทำาให้
สายสวนเสียหายได้ หากรู้สึกถึงแรงต้าน อย่าพยายามฝืนดันสายสวน
เข้าในหลอดสวนนำา เนื่องจากอาจทำาให้สายสวนเสียหายได้ ห้ามดันสาย
สวนโดยไม่มีลวดนำา เนื่องจากส่วนปลายและส่วนต้นของสายสวนอาจ
พับได้
7.
คอยตรวจสอบตำาแหน่งของปลายสายสวนในหลอดเลือดอย่างสมำ่ำาเสมอ
ระหว่างการทำาหัตถการ โดยใช้เครื่องฟลูโอโรสโคปีความละเอียดสูง และ/
หรือหน้าจอถ่ายภาพรังสีหลอดเลือดระบบดิจิทัล
คำ�เตือน:
หากรู้สึกถึงแรงต้านใด ๆ ห้ามดันต่อหรือถอดสายสวนจนกว่า
จะสามารถประเมินสาเหตุของแรงต้านได้จากเครื่องฟลูโอโรสโคปีความ
ละเอียดสูง และ/หรือหน้าจอถ่ายภาพรังสีหลอดเลือดระบบดิจิทัล การ
ฝืนดันสายสวนและ/หรือลวดนำาต่อแรงต้าน อาจส่งผลให้เกิดความเสีย
หายต่อหลอดเลือด สายสวน หรือลวดนำา หากดันสายสวนเข้าสู่หลอด
เลือดโดยไม่มีลวดนำา อาจส่งผลให้หลอดเลือดเกิดความเสียหายได้ เมื่อ
สอดลวดนำาเข้าสู่สายสวนอีกครั้ง ให้ค่อย ๆ ดันลวดนำาไปพร้อมกับตรวจ
สอบตำาแหน่งปลายลวดนำาผ่านเครื่องฟลูโอโรสโคปีความละเอียดสูง
และ/หรือหน้าจอถ่ายภาพรังสีหลอดเลือดระบบดิจิทัล การเคลื่อนไหวที่
ไม่คงที่อาจสร้างความเสียหายต่อหลอดเลือดได้
ข้อควรระวัง:
เมื่อดันสายสวนเข้าในหลอดเลือดส่วนปลาย ให้ดึงกลับ
เล็กน้อยโดยดูผ่านเครื่องฟลูโอโรสโคปี
ในแต่ละครั้งที่ดันไปข้างหน้า
เพื่อรับรองว่าจะไม่ดันสายสวนไปไกลเกินไปจนไม่สามารถถอดออกมา
ได้ ห้ามนำาทางสายสวนด้วยการฝืนแรง เนื่องจากปลายของสายสวน
ยืดหยุ่นได้สูง และอาจยืดหรือเสียหายได้
8.
เมื่อถึงตำาแหน่งที่ต้องการ ให้ถอดลวดนำาออกจากสายสวน
ข้อควรระวัง:
การดึงลวดนำากลับมาโดยฝืนแรงต้าน อาจทำาให้สายสวน
พับได้ หากรู้สึกถึงแรงต้านใด ๆ ให้ดึงหลอดสวนกลับมายังตำาแหน่งที่
ไม่รู้สึกว่ามีแรงต้านของลวดนำา แล้วจึงถอดลวดนำาออก หากถอดลวดนำา
ออกโดยไม่ทำาเช่นนี้ สายสวนอาจเกิดความบกพร่อง ล้างเลือดที่ตกค้าง
ออกจากลวดนำาที่ถอดออกมาในสารละลายน้ำาเกลือผสมสารเฮพาริน
ชนิดปลอดเชื้อ หากคราบตกค้างไม่หลุดออกไป ให้เช็ดลวดนำาครั้งเดียว
ด้วยผ้าก๊อซปลอดเชื้อชุบสารละลายนำ้ำาเกลือผสมสารเฮพาริน เลือดที่
เหลืออยู่บนลวดนำาอาจทำาให้เกิดแรงต้านเมื่อต้องสอดลวดกลับเข้าไปใน
สายสวน
9.
ก่อนใส่วัสดุฝังหรือสารอื่น ๆ ให้ค่อย ๆ ฉีดสารทึบรังสีปริมาณเล็กน้อย
เข้าสู่สายสวนโดยใช้กระบอกฉีดยา และตรวจสอบด้วยเครื่องฟลูโอโรสโค
ปีความละเอียดสูง และ/หรือหน้าจอถ่ายภาพรังสีหลอดเลือดระบบดิจิทัล
เพื่อดูให้แน่ใจว่าสารทึบแสงนั้นถูกปล่อยออกจากส่วนปลายของสายสวนได้
เนื่องจากรูมีขนาดเล็ก การให้ยาหรือของเหลวผ่านสายสวนจึงมีแรงต้านสูง
เมื่อฉีดสารทึบรังสีหรือยาด้วยกระบอกสูบ ให้ใช้กระบอกสูบขนาดไม่เกิน
1 มล. อ้างอิงคำาแนะนำาในการใช้งานเกี่ยวกับยาและ/หรืออุปกรณ์ใด ๆ ที่
คุณต้องการใช้งานกับสายสวนเพื่อประเมินความเข้ากันได้ และเพื่อป้องกัน
ไม่ให้สายสวนเสียหาย หากต้องใช้วัสดุฝังหรือสารชนิดต่าง ๆ ในคราวเดียว
แนะนำาให้ใช้สายสวนใหม่ในแต่ละครั้ง
หมายเหตุ: แนะนำาให้อุ่นสารทึบรังสีถึงอุณหภูมิ 37 °C ก่อนใช้งาน
คำ�เตือน:
หากรู้สึกถึงแรงต้านเมื่อฉีดของเหลวผ่านสายสวน ให้เปลี่ยน
สายสวนหลอดเลือดเป็นอันใหม่ การฝืนฉีดที่แรงต้านเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
อาจทำาให้สายสวนแตกได้ ซึ่งอาจทำาให้หลอดเลือดบาดเจ็บ หากมองไม่
เห็นสารทึบรังสีไหลออกจากสายสวนแสดงว่าสายสวนอาจพับอยู่ หาก
การดึงสายสวนกลับไม่สามารถแก้ไขการพับได้ ให้เปลี่ยนสายสวนอัน
ใหม่ อย่าพยายามแก้ไขการพับด้วยลวดนำา หรือโดยการฉีด การใส่
อุปกรณ์หรือสารอุดใด ๆ เข้าสู่หลอดเลือดโดยไม่แก้ไขการพับก่อน หรือ
พยายามแก้ไขการพับโดยการสอดลวดนำาหรือด้วยเครื่องฉีดไฟฟ้า อาจ
ทำาให้สายสวนแตกหรือหัก และอาจทำาให้หลอดเลือดเสียหายได้
แรงเสียดทานระหว่างรูด้านในของสายสวนกับสารอุดอาจทำาให้สายสวน
ถูกดันไปข้างหน้า ซึ่งอาจส่งผลให้ผนังหลอดเลือดทะลุได้ เพื่อป้องกันไม่
ให้เหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้น ให้ดึงสายสวนกลับเล็กน้อย และจับไว้ให้อยู่
กับที่
ข้อควรระวัง:
แรงต้านที่เพิ่มขึ้นระหว่างการให้ยาบ่งบอกว่าสายสวน
อาจถูกยาหรือสารทึบรังสีที่กำาลังฉีดขัดขวางอยู่ หรือมีเลือดอุดตัน ให้
ยุติการให้ยาทันที และเปลี่ยนสายสวน เมื่อใช้เครื่องฉีดด้วยไฟฟ้า ให้
ปฏิบัติตามคำาแนะนำาด้านล่างใต้หัวข้อ “คำาแนะนำาสำาหรับการใช้เครื่อง
ฉีดไฟฟ้ากับสายสวนหลอดเลือดขนาดเล็กพิเศษ” ในกรณีที่ใช้สารละลา
ยออร์แกนิก ให้ตรวจสอบให้แน่ใจว่าใช้ด้วยกันได้ โดยตรวจสอบฉลาก
ก่อนใช้งาน ก่อนใช้งาน ตรวจสอบว่าขนาดของไมโครสเฟียร์สำาหรับฝัง
สามารถใช้ด้วยกันได้กับขนาดสายสวนที่เลือก
ช่วงของขนาดไมโครสเฟียร์ที่ใช้ได้ระบุอยู่บนฉลากของบรรจุภัณฑ์ด้าน
นอกของสายสวน และในตารางที่ 2 ก่อนใช้งาน ให้ยืนยันขนาดของ
วัสดุฝังแบบขดและอุปกรณ์เสริมว่าใช้ด้วยกันได้กับสายสวน เมื่อนำาวัสดุ
ฝังหรือวัสดุฝังแบบขดมาใช้ ห้ามใช้อุปกรณ์หรือวัสดุที่มีขนาดเกินขนาด
สูงสุดที่ระบุไว้ในตารางที่ 2 คอยตรวจสอบการใส่อุปกรณ์เสริมหรือสาร
อุดอย่างสมำ่ำาเสมอผ่านเครื่องฟลูโอโรสโคปีความละเอียดสูง และ/หรือ
หน้าจอถ่ายภาพรังสีหลอดเลือดระบบดิจิทัล อย่าดันหรือถอดสายสวน
หากรู้สึกถึงแรงต้านในหลอดเลือด โดยเฉพาะเมื่อใช้วัสดุฝัง
ให้ดันหรือถอดสายสวน เฉพาะหลังจากประเมินสาเหตุของแรงต้านจาก
เครื่องฟลูโอโรสโคปีความละเอียดสูง
และ/หรือหน้าจอถ่ายภาพรังสี
หลอดเลือดระบบดิจิทัลแล้วเท่านั้น การเคลื่อนที่รวดเร็วและไม่มีเหตุผล
รองรับใด ๆ อาจเป็นสาเหตุให้สายสวนปริ/แตก/หักได้ ซึ่งอาจส่งผลให้
หลอดเลือดเสียหาย
10.
ก่อนสอดสายสวนเข้าในหลอดเลือดเพิ่มเติม ให้สวนล้างสายสวนด้วย
สารละลายนำ้ำาเกลือผสมสารเฮพารินชนิดปลอดเชื้อ หากรู้สึกถึงแรงต้านใด
ๆ ระหว่างการสอดลวดนำา ห้ามดันลวดนำาไปต่อ แล้วเปลี่ยนสายสวน หาก
พบความยุ่งยากใด ๆ ในการสอดลวดนำาเข้าในฮับของสายสวน สามารถ
หมุนลวดนำาและ/หรือฮับได้เล็กน้อย เพื่อให้การสอดง่ายขึ้น
คำ�เตือน:
เมื่อสอดลวดนำาเข้าสู่สายสวนอีกครั้ง ให้ยืนยันตำาแหน่งของ
ปลายลวดนำาผ่านเครื่องฟลูโอโรสโคปีความละเอียดสูง และ/หรือหน้า
จอถ่ายภาพรังสีหลอดเลือดระบบดิจิทัล การเคลื่อนไหวลวดที่ไม่คงที่