![Camp Safety ACCESS SIT Скачать руководство пользователя страница 117](http://html.mh-extra.com/html/camp-safety/access-sit/access-sit_manual_488370117.webp)
114
115
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการทำกิจกรรมและประเภทของความเสี่ยง เป็นสิ่งจำเป็นในการเลือกชนิด
และรูปแบบของสายรัดนิรภัยที่มีความเหมาะสมมากที่สุด ตามคำแนะนำที่อยู่ในคู่มือฉบับนี้
การใช้งาน
เพื่อให้ได้รับความพอดีเหมาะสมมากที่สุด ควรเลือกขนาดตามที่ระบุในตาราง
A
นอกจากนี้
ผู้ใช้จะต้องทำการทดสอบในสถานที่ ๆ ปลอดภัย
เพื่อตรวจดูให้แน่ใจว่าสายรัดนิรภัยเป็นขนาดที่ถูกต้อง
ที่สามารถปรับได้และให้ความสะดวกสบายเพียงพอสำหรับการใช้งานตามวัตถุประสงค์
หลังจากประเมินความเสี่ยงอันตรายจากพื้นที่ทำงานแล้ว
จะทราบได้ว่าควรใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล (
PPE)
ชนิดใด
เพื่อคำนวณแรงตกกระชาก (
Fall Factor)
คำนวณได้โดยใช้สูตรดังต่อไปนี้: แรงตกกระชาก
= ความสูงของการตก/ความยาวของเชือกสั้น
โดยสามารถใช้อุปกรณ์สำหรับวางตำแหน่งการทำงานได้ ในกรณีที่มีแรงตกกระชาก (
Fall
Factor)
เป็น
0
และคนงานอยู่ในตำแหน่งที่ต่ำกว่าจุดผูกยึดด้วยแรงตึงเชือก
หรือในกรณีที่มีแรงตกกระชาก (
Fall Factor)
เป็น
1
แต่พื้นที่ในการเคลื่อนไหวต้องไม่เกิน
0.6
ม. ในกรณีอื่น ๆ ที่มีแรงตกกระชาก (
Fall Factor)
เท่ากับหรือมากกว่า
1
ต้องใช้อุปกรณ์ป้องกันการตกจากที่สูง (รูปภาพประกอบ
1)
การใช้อุปกรณ์เหล่านี้รวมกับส่วนประกอบอื่น ๆ ของอุปกรณ์ป้องกันการตกจากที่สูง
ต้องสอดคล้องตรงกับคำแนะนำเหล่านี้ในการใช้งานเฉพาะด้านและสอดคล้องกับกฎข้อบังคับ
ที่มีผลใช้อยู่ (รูปภาพประกอบ
10)
สำหรับการใช้งานที่ถูกต้องและการเชื่อมต่อกับจุดยึดที่ปลอดภัย และจุดยึดเข้ากับระบบย่อย
อย่างเช่นตัวดูดซับแรง เชือกสั้นและการเชื่อมต่อกับส่วนประกอบอื่น ๆ ในระบบ
โปรดดูรูปภาพประกอบ
2-10
การเชื่อมต่อไปยังระบบยับยั้งการตกหรือที่ตำแหน่งการทำงานต้องทำเฉพาะผ่านทางจุดผูกยึ
ดป้องกันการตกหรือที่วางตำแหน่งการทำงานตามที่ระบุไว้ในรูปภาพประกอบ
2-10;
ห้ามมิให้มีการเชื่อมต่อไปยังห่วงคล้องอุปกรณ์หรือส่วนประกอบอื่น ๆ
ของสายรัดนิรภัยโดยเด็ดขาด ระบบของจุดผูกยึดจะต้องมีความแข็งแรงตรงตามมาตรฐาน
EN 795 (
มากว่า
15 kN)
ก่อนและระหว่างการใช้งานของผลิตภัณฑ์จะต้องตรวจเช็คหัวเข็มขัดนิรภัย
การปิดของตัวเชื่อมต่อและอุปกรณ์ทุก ๆ ชิ้นต้องอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้องเสมอ วัสดุหลัก:
โพลีเอสเตอร์ และส่วนประกอบโลหะ
ด้านล่างนี้ อธิบายถึงสายรัดนิรภัยสามชนิดที่ตรงตามมาตรฐานกฎข้อบังคับ:
สายรัดนิรภัยอาจมีหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งประเภท (ตาราง
A)
ดังต่อไปนี้
สายรัดนิรภัยที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ร่วมกันได้ (อย่างเช่น สายรัดสะโพก + สายรัดอก)
มีอธิบายไว้เฉพาะในตาราง
A
เท่านั้น
EN 361:
สายรัดนิรภัยป้องกันการตกแแบบเต็มตัว (
FULL BODY HARNESSES)
สายรัดนิรภัยป้องกันการตกแบบเต็มตัวเป็นอุปกรณ์ที่ช่วยพยุงร่างกายเพื่อยับยั้งการตกจากที่
สูง โดยมีการเชื่อมต่อกับส่วนประกอบอื่น ๆ ของระบบยับยั้งการตก จะต้องคำนวณพื้นที่ ๆ
จำเป็นให้แก่คนใช้งาน เพื่อหลีกเลี่ยงการกระแทกใด ๆ
ที่อาจจะเกิดขึ้นกับสิ่งก่อสร้างหรือกับพื้นด้านล่างในกรณีที่เกิดการพลัดตกจากที่สูง
จุดผูกยึดป้องกันการตกตั้งอยู่ที่ตำแหน่งหน้าอกเท่านั้น โดยระบุสัญลักษณ์ด้วยตัวอักษร
A
(
หรือ
A/2+A/2)
EN 813:
สายรัดสะโพก
(SIT HARNESSES)
สายรัดสะโพกมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ยับยั้งการตกจากที่สูงด้วยการห้อยตัวผู้ใช้งานด้วยเทคนิค
การโรยตัว การปีน โดยใช้เชือก (
Rope Access)
หรือเพื่อวางตำแหน่งการทำงานในที่สูง
น้ำหนักสูงสุดในการใช้งานสำหรับสายรัดนิรภัย
CAMP Safety
มีพิมพ์ไว้ที่ผลิตภัณฑ์
การห้อยตัวอยู่ในสายรัดสะโพกเป็นเวลานานอาจมีผลทำให้ร่างกายได้รับอันตรายและในกร
ณีที่ผู้ใช้งานห้อยตัวอยู่และหมดสติอาจทำให้ถึงแก่ชีวิตได้
Содержание ACCESS SIT
Страница 9: ...7 ...
Страница 10: ...8 2A Fall Factor Fattore di caduta Facteur de chute Factor 1 EN 361 EN 813 EN 358 Factor 2 Factor 0 ...
Страница 11: ...9 2B How to wear Come si indossa Comment l enfiler 2C 2D ...
Страница 12: ...10 Buckles Fibbie Boucles A D CLOSE OPEN E F C MIN 80 mm B OR O OU ...
Страница 17: ...15 ACCESS SIT GT SIT E E 15 kN 15 kN 15 kN A A B B 15 kN 15 kN 15 kN A A B B 15 kN C C ...
Страница 24: ...22 GT CHEST ACCESS SIT GT SIT TREE ACCESS FIG 6 EN 358 EN 813 EN 361 9A ...
Страница 25: ...23 ...
Страница 26: ...24 EN 358 EN 813 EN 361 9B 15 kN A GT CHEST ACCESS SIT FIG 6 15 kN A A A ...
Страница 27: ...25 GT CHEST GT SIT FIG 6 15 kN A 15 kN A A A ...
Страница 33: ...31 Help Step Ref 2062 13B 1 2 4 5 3 6 ...