102
www.globalwatersolutions.com
103
www.globalwatersolutions.com
เพื่อการทำางานที่เหมาะสม ให้ตั้งค่าแรงดันสำาหรับถังแรงดันโดย
ปฏิบัติดังนี้
A.
ปิดปั๊ม ตัดการเชื่อมต่อของถังออกจากระบบและระบายน้ำาที่อยู่
ในถังออกให้หมดเพื่อไม่ให้แรงดันน้ำามีผลต่อการอ่านค่าแรงดัน
B.
ใช้เกจวัดแรงดันตรวจสอบค่าแรงดันของถังหลังจากที่ประกอบ
ถังเข้ากับระบบแล้ว
C.
เพิ่มหรือลดอากาศตามความจำาเป็นเพื่อปรับแรงดันให้ได้ตาม
ที่ต้องการ
D.
ปิดฝาปิดวาล์วลม และปิดผนึกไว้ด้วยฉลากวาล์วลมที่ให้มา การก
ระทำาเช่นนี้จะช่วยให้ท่านทราบได้เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น
กับวาล์วในกรณีที่ต้องมีการซ่อมบำารุงในอนาคต
E.
หลังจากตั้งค่าแรงดันเรียบร้อยแล้ว ท่านไม่จำาเป็นต้องทำาการตรวจ
สอบลมเป็นระยะๆ
อย่าตรวจสอบลมหลังการติดตั้ง
ข้อควรระวัง: ไม่ควรเพิ่มแรงดันถังมากจนเกินไป และทำาการ
ปรับแรงดันถังที่อุณหภูมิที่ปกติเท่านั้น
1.4
ตัวอย่�งก�รติดตั้ง
•
ต่อไปนี้คือถังแรงดันไดอะแฟรมสำาหรับใช้งานกับระบบน้ำาบาดาล
หรือระบบเพิ่มแรงดันน้ำา โดยระบบต้องได้รับการติดตั้งด้วยลิ้นระบาย
แรงดันที่เหมาะสม
•
ควรใช้งานถังซีรี่ส์
FlowThru™
กับระบบปั๊มควบคุมการขับเคลื่อน
ความเร็วแบบปรับรอบได้หรือ ควบคุมการขับเคลื่อนความถี่แบบปรับ
รอบได้เท่านั้น
ภาพ
1.4-1
การติดตั้งถังพร้อมด้วยอุปกรณ์ต่างๆ
ภาพ
1.4-3
มีปั๊มแบบแช่น้ำาได้
ภาพ
1.4-2
แบบดัดแปลงกับปั๊มเจท
ภาพ
1.4-5
ปั๊มเพิ่มแรงดันกับถังทรงตั้ง
ภาพ
1.4-4
ปั๊มเพิ่มแรงดันกับถังทรงนอน
1.5
ก�รติดตั้งถังแรงดันหล�ยใบ
ถังทุกใบจะต้องมีค่าแรงดันสำาหรับระบบที่เท่ากันเพื่อให้ได้การ
ทำางานที่เหมาะสม โดยทำาการติดตั้งถังเข้ากับท่อรวมเพื่อให้แน่ใจ
ว่าถังทุกใบได้รับแรงดันที่สมดุลและเท่ากันทั้งหมด ปฏิบัติตามขั้น
ตอนในส่วน
1.3
เพื่อปรับค่าแรงดันของถังแต่ละใบ เพื่อให้ได้การ
ทำางานที่เหมาะสมสำาหรับถังทุกใบ สวิตช์แรงดัน หรือส่วนควบคุม
แรงดันของระบบควรอยู่ในตำาแหน่งกึ่งกลาง (ดูภาพ
1.5
)
1.6
หลักก�รทำ�ง�นของระบบปั๊ม
เมื่อไม่มีถังแรงดัน ปั๊มของระบบน้ำาจะทำางานเป็นรอบ (เปิด) ทุก
ครั้งที่มีความต้องการน้ำา วัฏจักรการทำางานซึ่งถี่และสั้นนี้จะส่งผล
ให้อายุการใช้งานของปั๊มสั้นลง ดังนั้น ถังแรงดันจึงถูกออกแบบ
มาเพื่อกักเก็บน้ำาในขณะที่ปั๊มกำาลังทำางาน จากนั้นจะส่งแรงดันน้ำา
กลับไปยังระบบเมื่อปั๊มหยุดทำางาน ถังซึ่งมีขนาดเหมาะสมจะทำา
หน้าที่กักเก็บน้ำาอย่างน้อย
1
ลิตร สำาหรับน้ำาทุกๆ ลิตรต่อ
1
นาที
(ลิตรต่อนาที) ของความจุปั๊ม ซึ่งจะช่วยให้ปั๊มเริ่มทำางานน้อยลง
และทำางานได้ยาวนานขึ้น ซึ่งจะหมายถึงอายุการใช้งานของปั๊ม
ที่เพิ่มขึ้นด้วย
1.7
ก�รเปลี่ยนถังโลหะแบบธรรมด�เป็นถัง
GWS
GWS
ขอแนะนำาให้ท่านเปลี่ยนถังโลหะแบบธรรมดาซึ่งมีข้อบกพร่องเป็น
ถังของ
GWS
รวมถึงแนะนำาให้ท่านติดตั้งลิ้นระบายแรงดันเข้ากับ
ข้อต่อของถัง
GWS
และอย่าลืมปิดจุก ลมเนื่องจากท่านไม่จำาเป็น
ต้องเติมลมเข้าไปในถังอีกต่อไป
2.
ก�รติดตั้งถังรองรับก�รขย�ยตัวเนื่องจ�ก
คว�มร้อน
ถังรองรับการขยายตัวจากความร้อนถูกออกแบบมาเพื่อรองรับ
การขยายตัวตามธรรมชาติของน้ำาเมื่อน้ำานั้นได้รับความร้อน โดย
ถังรองรับการขยายตัวจากความร้อนสามารถนำามาใช้ร่วมกับ
อุปกรณ์หลากหลายประเภท
รวมถึงระบบท่อน้ำาร้อนแบบปิด,
ระบบทำาความร้อนพลังแสงอาทิตย์แบบทางตรงและทางอ้อม
และระบบทำาน้ำาร้อนที่ดื่มได้แบบเปิด
GWS
ได้พัฒนาถังทั้ง
3
ซีรี่ส์ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกันไปเพื่อการใช้งานในรูปแบบการใช้
งานแต่ละประเภท
HeatWave™
สำาหรับใช้งานกับระบบท่อน้ำา
ร้อนแบบปิด,
SolarWave™
สำาหรับใช้งานกับระบบทำาความร้อน
พลังแสงอาทิตย์ทางอ้อมแบบปิด และ
ThermoWave™
สำาหรับ
ใช้งานกับระบบทำาความร้อนพลังแสงอาทิตย์แบบทางตรง รวม
ถึงระบบทำาน้ำาร้อนที่ดื่มได้แบบเปิด และท่านสามารถนำาถังซีรี่ส์
Challenger™
และ
SuperFlow™
มาใช้งานกับอุปกรณ์รองรับการ
ขยายตัวจากความร้อนปริมาตรสูงได้
คำาเตือน: โปรดตรวจสอบค่าแรงดันทำางานสูงสุดและอุณหภูมิ
ทำางานสูงสุดจากป้ายฉลากแสดงข้อมูลถังก่อนเริ่มติดตั้ง
คำาเตือน: สารเติมแต่ง (เช่น ไกลคอล) อาจส่งผลกระทบต่อการ
ขยายตัวจากความร้อน และการทำางานของถังรองรับการขยายตัว
ดังนั้น สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมจากผู้จำาหน่าย
GWS
หรือ
สำานักงานขาย
GWS
ใกล้บ้านท่าน
คำาเตือน: เราขอแนะนำาให้มีการป้องกันระบบทำาความร้อนโดย
ติดตั้งลิ้นระบายแรงดันโดยตั้งค่าไว้ไม่เกินค่าแรงดันถังสูงสุด การ
ละเลยไม่ติดตั้งลิ้นระบายแรงดันอาจส่งผลให้ถังระเบิดในกรณี
ที่ระบบทำางานผิดพลาด หรือระดับแรงดันสูงเกิน อันจะส่งผลให้
ทรัพย์สินได้รับความเสียหาย มีผู้ได้รับบาดเจ็บอย่างรุนแรง หรือ
อาจถึงขั้นเสียชีวิต
2.1
ค่�แรงดัน
ตรวจสอบแรงดันของถังโดยใช้เกจวัดแรงดันที่เหมาะสมก่อนจะ
เริ่มการติดตั้ง
โปรดอ้างอิงแรงดันตั้งจากโรงงานบนป้ายฉลาก
แสดงข้อมูลถัง โดยควรตั้งแรงดันให้มีค่าเท่ากับแรงดันบรรจุของ
ระบบ หรือแรงดันหลัก สำาหรับถัง
SolarWave™
นั้น ควรตั้งแรง
ดันให้อยู่ที่ระดับแรงดันทำางานต่ำาสุดของระบบ และ/หรือ แรงดัน
บรรจุ โดยเพิ่มหรือลดอากาศจากวาล์วลมของถังเพื่อปรับแรงดัน
ให้ได้ตามที่ต้องการ
2.2
ตำ�แหน่งของถังรองรับก�รขย�ยตัวจ�กคว�มร้อน
เนื่องด้วยตัวถัง ท่อ และข้อต่ออาจเกิดการรั่วไหลแม้ว่าจะทำาการ
ติดตั้งอย่างถูกวิธีแล้วก็ตาม
ดังนั้นตรวจสอบให้แน่ใจว่าทำาการ
ติดตั้งถังไว้ในตำาแหน่งที่การรั่วไหลดังกล่าวจะไม่ก่อให้เกิดความ
เสียหายเนื่องมาจากน้ำา
โดยติดตั้งถังรองรับการขยายตัวจาก
ความร้อนเข้ากับระบบทำาความร้อนในด้านที่เย็น หรือในด้านจ่าย
ตัวถังควรได้รับการติดตั้งภายในอาคารและได้รับการปกป้องจาก
อุณหภูมิเยือกแข็ง
2.3
ก�รเชื่อมต่อระบบ
ถังรองรับการขยายตัวจากความร้อนแบบแนวเส้นตรงถูกออกแบบ
มาเพื่อทำางานร่วมกับระบบท่อและควรได้รับการเชื่อมต่อกับระบบ
ท่อโดยผ่านทางข้อต่อรูปตัว “
T
” (ดูภาพ
2.3-1
) แท่นยึดผนัง
ซึ่งเป็นอุปกรณ์เสริมมีไว้เพื่อช่วยเพิ่มการรองรับ
(สอบถามราย
ละเอียดเพิ่มเติมจากผู้จำาหน่าย
GWS
ในท้องถิ่นของท่าน) ถัง
ทรงตั้งพร้อมฐานถูกออกแบบมาเพื่อรองรับน้ำาหนักตัวถังเอง และ
ควรได้รับการเชื่อมต่อกับระบบด้วยท่อเสริม (ดูภาพ
2.3-2
)
ภาพ
2.3-1
ภาพ
2.3-2
1.
ก่อนระยะน้ำาลด
2.
ขณะน้ำาลด
3.
ปั๊มทำางานและเริ่ม
บรรจุน้ำาในถังtank
ภาพ
1.5
การติดตั้งถังแรงดันหลายใบ
THA
THA
ถัง
ลิ้นระบายแรงดัน
ถัง
ลิ้นระบายแรงดัน
ไปยังระบบ
ระบาย
ปั๊ม
ทิศทางการ
ไหลของน้ำา
ทิศทางการไหล
ของน้ำา
ปั๊มแบบแช่น้ำาได้
เครื่องส่งสัญญาณ
เซนเซอร์วัดอัตรา
การไหล
สวิตช์แรงดัน
เกจวัดแรงดัน
ลิ้นระบายแรงดัน
ทิศทางการไหลของน้ำา
จากปั๊ม
สวิตช์แรงดัน
เกจวัดแรงดัน
ข้อต่อยืดหยุ่นได้
สวิตช์แรงดัน
เกจวัดแรงดัน
หมายเหตุ: ถังทุกใบต้องมีค่าแรงดัน
ที่เท่ากัน
ลิ้น
ระบาย
แรง
ดัน
สวิตช์
แรงดัน
ร้อน
ร้อน
เย็น
เย็น
ลิ้น
ระบาย
แรงดัน
ลิ้น
ระบาย
แรงดัน
เครื่อง
ทำาน้ำา
ร้อน
เครื่อง
ทำาน้ำา
ร้อน
ตัวป้องกัน
การไหลกลับ
หรือ วาล์วกัน
กลับ
ตัวป้องกันการ
ไหลกลับ หรือ
วาล์วกันกลับ
ถังทรง
ตั้งพร้อม
ฐาน
ถังทรง
ตั้ง
ท่อรวมควรมีขนาดเพียงพอต่อ
อัตราความเร็วของน้ำาสูงสุด
1,8
ม./วินาที (
6
ฟุต/วินาที)
3.5
บาร์
3.0
บาร์
2.5
บาร์
ทิศทางการ
ไหลของน้ำ
า