18
ไทย
คู่มือสำาหรับอุปกรณ์การทำาอาหาร
ในการอบอาหารด้วยเตาไมโครเวฟ คลื่นไมโครเวฟจะต้องสามารถแทรกเข้าสู่อาหาร โดยไม่มีการสะท้อนหรือดูดซับ
โดยภาชนะ
คุณจึงควรเลือกใช้อุปกรณ์อย่างรอบคอบ คุณควรเลือกภาชนะที่มีข้อความหรือเครื่องหมายว่าใช้กับไมโครเวฟได้
ตารางต่อไปนี้แสดงอุปกรณ์การทำาอาหารประเภทต่างๆ และระบุว่าจะสามารถใช้กับเตาไมโครเวฟได้หรือไม่ และอย่างไร
อุปกรณ์
ใช้กับไมโครเวฟได้
หมายเหตุ
ฟอยล์อะลูมิเนียม
✓ ✗
สามารถใช้จำานวนเล็กน้อย เพื่อป้องกันส่วนที่ไม่ต้องการ
ให้สุกเกินไป อาจมีประกายไฟ ถ้าฟอยล์อยู่ใกล้กับผนัง
ของเตาอบมากเกินไป หรือใช้ฟอยล์มากเกินไป
จานสำาหรับทำาเกรียม
✓
ห้ามอุ่นร้อนเกินกว่าแปดนาที
กระเบื้องและดินเผา
✓
กระเบื้องพอร์ซเลน ดินเผา ดินเผาเคลือบ และกระเบื้อง
เคลือบนั้นมักจะใช้ได้ดี ยกเว้นที่มีขอบโลหะ
จานโฟมหรือกระดาษแบบใช้
แล้วทิ้ง
✓
อาหารแช่แข็งบางชนิดจะบรรจุในภาชนะประเภทนี้
บรรจุภัณฑ์ของอาหารจานด่วน
• ถ้วยโฟม
✓
สามารถใช้อุ่นอาหาร ความร้อนสูงมากๆ จะทำาให้โฟม
ละลาย
• ถุงกระดาษหรือหนังสือพิมพ์
✗
อาจติดไฟ
• กระดาษรีไซเคิลหรือขอบโลหะ
✗
อาจเกิดประกายไฟ
เครื่องแก้ว
• ภาชนะสำาหรับเตาอบและใส่
อาหาร
✓
ใช้ได้ หากไม่ประดับด้วยขอบโลหะ
• เครื่องแก้วบาง
✓
สามารถใช้อุ่นอาหารหรือของเหลว แก้วที่บางมากอาจ
แตกหรือร้าวหากได้รับความร้อนทันที
• โถแก้ว
✓
ต้องใช้โดยไม่ปิดฝา เหมาะสำาหรับการอุ่นอาหารเท่านั้น
โลหะ
• จาน
✗
อาจเกิดประกายหรือติดไฟ
• ลวดสำาหรับมัดปากถุงแช่แข็ง
✗
อุปกรณ์
ใช้กับไมโครเวฟได้
หมายเหตุ
กระดาษ
• จาน ถ้วย กระดาษเช็ดปาก และ
กระดาษเช็ดมือ
✓
สำาหรับการอบเวลาสั้นๆ และการอุ่นอาหาร และใช้ซับ
ของเหลวที่มากเกินไป
• กระดาษรีไซเคิล
✗
อาจเกิดประกายไฟ
พลาสติก
• ภาชนะ
✓
โดยเฉพาะพลาสติกทนความร้อน พลาสติกชนิดอื่น
อาจบิดหรือเปลี่ยนสีเมื่อโดนความร้อนสูง ห้ามใช้
พลาสติกแบบเมลามีน
• ฟิล์มสำาหรับปิดอาหาร
✓
สามารถใช้เก็บรักษาความชื้น ไม่ควรสัมผัสกับอาหาร
โดยตรง ใช้ความระมัดระวังขณะนำาฟิล์มออก เนื่องจาก
อาจมีไอร้อนออกมาด้วย
• ถุงแช่แข็ง
✓ ✗
เฉพาะชนิดที่ต้มได้หรือใช้กับเตาอบได้ ไม่ควรเป็นแบบ
กักอากาศ ซึ่งต้องใช้ส้อมเจาะก่อน ถ้าจำาเป็นต้องใช้
กระดาษมันหรือกระดาษไข
✓
สามารถใช้เก็บรักษาความชื้นหรือกันอาหารกระเด็น
✓
: แนะนำา
✓✗
: ใช้อย่างระมัดระวัง
✗
: ไม่ปลอดภัย
ME731KD_XST_DE68-03893N-01_TH.indd 18
2013-05-24 �� 9:48:22