E. 483 คอลเล็ตขนาด 0.8 มม.
F. 482 คอลเล็ตขนาด 1.6 มม.
G. 481 คอลเล็ตขนาด 2.4 มม.
หมายเหตุ: ชุดเครื่องมือโรตารี่ส่วนใหญ่ไม่มีคอลเล็ตมาให ้ครบทั้ง 4
ขนาด
แผนภูมิการระบุตัวคอลเล็ต
ขนาดของคอลเล็ตสามารถระบุได ้ด ้วยวงแหวนที่อยู่ด ้านหลังตัวคอลเล็ต
คอลเล็ตขนาด 0.8 มม. มีวงแหวนอยู่หนึ่ง (1) วง
คอลเล็ตขนาด 1.6 มม. มีวงแหวนอยู่สอง (2) วง
คอลเล็ตขนาด 2.4 มม. มีวงแหวนอยู่สาม (3) วง
คอลเล็ตขนาด 3.2 มม. ไม่มีวงแหวน (รวมอยู่ในชุดเครื่องมือส่วนใหญ่)
กำรซ่อมแซมคอลเล็ตค้ำง
อาจเกิดเหตุการณ์ที่คอลเล็ตค ้างอยู่ในน็อตคอลเล็ตได ้ โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งเมื่อมีการขัดน็อตคอลเล็ตใส่เครื่องมือจนแน่นโดยยังไม่ได ้ใส่ดอกสว่าน
หากเกิดเหตุการณ์เช่นนี้ขึ้น สามารถน�าเอาคอลเล็ตออกจากน็อตคอลเล็ต
ได ้โดยการดันเพลาของอุปกรณ์เสริมเข ้าไปในรูของน็อตคอลเล็ต จะท�า
ให ้คอลเล็ตหลุดออกมาจากน็อตคอลเล็ตได ้
น็อตคอลเล็ต
ในการขันให ้หลวม ให ้กดปุ่มล็อคเพลาแล ้วหมุนเพลาด ้วยมือจนกว่าตัว
ล็อคจะกันไม่ให ้เพลาหมุนต่อได ้ Dremel 2050 ของคุณมาพร ้อมกับ
กลไกล็อคเพลาด่วน
!
ห้ำมล็อคในขณะที่เครื่องมือโรตำรี่ก�ำล ังหมุน
อยู่
หากเพลาล็อคอยู่ ให ้ใช ้ประแจคอลเล็ตเพื่อขันน็อตคอลเล็ตให ้คลาย
ออกตามความจ�าเป็น น็อตคอลเล็ตต ้องสอดอย่างหลวมๆ ไว ้ก่อนเมื่อใส่
อุปกรณ์เสริม เปลี่ยนอุปกรณ์เสริมโดยใส่อุปกรณ์ใหม่ลงในคอลเล็ตให ้
ห่างที่สุดเท่าที่จะท�าได ้เพื่อลดการส่ายและความไม่สมดุล
เมื่อล็อคเพลาแล ้ว ให ้ใช ้ประแจคอลเล็ตเพื่อขันน็อตคอลเล็ตให ้แน่น
(ภาพที่ 4) หลีกเลี่ยงการขันน็อตคอลเล็ตจนแน่นเมื่อไม่ได ้ใส่ดอกสว่าน
ไว ้
ภาพที่ 4
A. ประแจคอลเล็ต
B. ปุ่มล็อคเพลา
C. น็อตคอลเล็ต
D. ขันให ้แน่น
E. ขันคลาย
กำรใช้งำน
เริ่มต้นใช้งำน
ขั้นตอนแรกในการใช ้งานเครื่องมืออเนกประสงค์คือการ "รู ้สึก" ได ้ถึง
เครื่องมือดังกล่าว ให ้ถือเครื่องมือไว ้ในมือและให ้ประเมินน�้าหนักและ
ความสมดุลของเครื่อง ให ้ท�าความรู ้สึกถึงความเรียวของตัวเรือน ความ
เรียวนี้จะช่วยให ้สามารถจับเครื่องมือได ้ง่ายแบบเดียวกับการจับปากกา
หรือดินสอ
ถือเครื่องมือให ้ห่างจากใบหน ้าของคุณเสมอ อุปกรณ์เสริมอาจช�ารุดเสีย
หายระหว่างการใช ้งาน และอาจกระเด็นหลุดออกมาเมื่อใช ้ด ้วยความเร็ว
ในขณะที่ถือเครื่องมือ อย่าให ้มือบังช่องระบายอากาศ การปิดกั้นช่อง
ระบายอากาศอาจท�าให ้มอเตอร์มีความร ้อนสูง
ข ้อมูลส�าคัญ! ลองฝึกใช ้งานกับเศษวัสดุก่อนเพื่อดูการท�างานของเครื่อง
มือเมื่อใช ้ด ้วยความเร็วสูง โปรดจ�าไว ้ว่า เครื่องมืออเนกประสงค์จะใช ้งาน
ได ้ดีที่สุดในช่วงความเร็วที่ก�าหนด และใช ้ร่วมกับอุปกรณ์เสริมและส่วน
ต่อขยายของ Dremel ที่ถูกต ้องส�าหรับการท�างานของคุณ ถ ้าเป็นไปได ้
อย่าใช ้แรงกดบนเครื่องมือในขณะใช ้งาน แต่ให ้ลดความเร็วการหมุนของ
อุปกรณ์เสริมลงเล็กน ้อยแทนเมื่อท�างานกับพื้นผิวของชิ้นงาน และจัด
ต�าแหน่งเครื่องมือให ้อยู่ในจุดที่คุณต ้องการเริ่มต ้น ให ้มีสมาธิในการจัด
แนวเครื่องมือลงบนชิ้นงานโดยใช ้แรงกดเล็กน ้อยจากมือของคุณ ปล่อย
ให ้อุปกรณ์เสริมท�างาน
โดยปกติแล ้วการสร ้างรอยผ่านหลายชุดด ้วยเครื่องมือจะดีกว่าการท�างาน
ทั้งชิ้นด ้วยการผ่านเพียงหนึ่งครั้ง การสัมผัสเบา ๆ จะช่วยท�าให ้การ
ควบคุมได ้ดีที่สุดและลดโอกาสของการผิดผลาด
กำรถือเครื่องมือ
เพื่อให ้สามารถควบคุมได ้ดีที่สุด ให ้ถือเครื่องมืออเนกประสงค์เหมือนกับ
การจับดินสอโดยให ้เครื่องอยู่ระหว่างนิ้วโป้งและนิ้วชี้ ภาพที่ 5
ควำมเร็วในกำรท�ำงำน
กำรเปิดและปิดอุปกรณ์
!
ใช้เฉพำะหม้อแปลงไฟฟ้ำ 2610Z09729
(EU) และ 2610Z09734 (UK) ที่ให้มำ
พร้อมเครื่องมือเท่ำนั้น
เสียบตัวเสียบไฟฟ้ากระแสตรงของเครื่องมือโรตารี่เข ้ากับรูเสียบ
ไฟฟ้ากระแสตรงของหม ้อแปลงไฟฟ้า ภาพที่ 1 เสียบหม ้อแปลงไฟฟ้า
เข ้ากับปลั๊กไฟ
เครื่องมือนี้ “เปิด” อยู่ด ้วยปุ่มเปิด/ปิด
ภาพที่ 6-A
กดแล ้วปล่อยปุ่มเปิด/ปิดสีน�้าเงินเพื่อ “เปิด” เครื่องมือ
กดแล ้วปล่อยปุ่มเปิด/ปิดเพื่อ “ปิด” เครื่องมือ
ปรับความเร็วของเครื่องมือโดยใช ้แป้นหมุนปรับระดับความเร็ว
ดูที่ส่วน “ความเร็วในการท�างาน”
ภาพที่ 6
A. ปุ่มเปิด/ปิด
B. แป้นหมุนปรับระดับความเร็ว
ปุ่มควบคุมควำมเร็ว
เลือกความเร็วที่เหมาะสมส�าหรับแต่ละงาน ให ้ใช ้เศษวัสดุเพื่อทดลอง
ท�างาน
แป้นหมุนปร ับระด ับควำมเร็ว
เครื่องมือของคุณติดตั้งแป้นหมุนปรับระดับความเร็ว สามารถปรับความเร็ว
ได ้ระหว่างการท�างานด ้วยการตั้งค่าแป้นหมุนล่วงหน ้าหรือระหว่างการตั้ง
ค่าใดค่าหนึ่งต่อไปนี้
คุณสามารถดูที่แผนภูมิในหน ้า 4 เพื่อก�าหนดความเร็วที่เหมาะสมตาม
วัสดุที่ใช ้ท�างานและประเภทของอุปกรณ์เสริมที่ใช ้งาน แผนภูมิเหล่านี้จะ
ช่วยให ้คุณสามารถเลือกอุปกรณ์เสริมที่ถูกต ้องและความเร็วที่เหมาะสม
ได ้อย่างรวดเร็ว
ความเร็วของเครื่องมือโรตารี่นั้นควบคุมได ้ด ้วยการปรับตั้งแป้นหมุนนี้ในตัว
เรือน (ภาพที่ 6-B)
กำรต ั้งค่ำรอบกำรหมุนโดยประมำณ
กำรต ั้งค่ำควำมเร็ว
ช่วงควำมเร็ว
1
5,000 ถึง 7,000 RPM
2
8,000 ถึง 10,000 RPM
3*
11,000 ถึง 14,000 RPM
4
15,000 ถึง 18,000 RPM
5
19,000 ถึง 22,000 RPM
* การตั้งค่าความเร็วสูงสุดส�าหรับแปรงลวดคือ 3
ควำมจ�ำเป็นที่ต้องใช้ควำมเร็วช้ำลง
อย่างไรก็ตาม วัสดุบางประเภท (เช่น พลาสติกและวัสดุมีค่าบางชนิด)
ต ้องใช ้ความเร็วที่ค่อนข ้างต�่า เนื่องจากในอัตราความเร็วสูง การเสียดสี
ของอุปกรณ์เสริมจะท�าให ้เกิดความร ้อนและอาจท�าให ้วัสดุเสียหายได ้
โดยทั่วไปการท�างานด ้วยความเร็วต�่า (15,000 รอบต่อนาทีหรือน ้อยกว่า)
มักจะเหมาะสมกับการท�างานขัดเงาที่ใช ้อุปกรณ์เสริมส�าหรับการขัดเงา
นอกจากนี้ยังเหมาะกับการท�างานในโครงการที่มีความซับซ ้อน เช่น งาน
“แกะสลักเปลือกไข่” งานและสลักไม ้ที่มีความละเอียดอ่อน และชิ้นส่วน
ต ้นแบบที่แตกหักง่าย (การใช ้งานแปรงทั้งหมดต ้องใช ้ความเร็วที่ต�่ากว่า
เพื่อป้องกันไม่ให ้ลวดหลุดออกจากตัวจับ)
ความเร็วที่สูงกว่าจะเหมาะสมกับการแกะสลักและขึ้นรูปไม ้
ไม ้เนื้อแข็ง โลหะ และแก ้วต ้องใช ้ความเร็วสูงในการท�างาน รวมถึงงาน
เจาะที่ควรใช ้ความเร็วสูงด ้วยเช่นกัน
จุดที่ควรจ�าคือ: การใช ้งานและอุปกรณ์เสริมจ�านวนมากในสายผลิตภัณฑ์
ของเราจะมีประสิทธิภาพสูงสุดที่ความเร็วในระดับสูงสุด แต่ส�าหรับวัสดตุ
การใช ้งาน และอุปกรณ์เสริมบางประเภท คุณจะต ้องลดความเร็วลงซึ่งนี่
คือเหตุผลที่เรามีเครื่องมือในรุ่นที่มีความเร็วแตกต่างกันมาน�าเสนอ
วิธีที่ดีที่สุดในการก�าหนดความเร็วของการท�างานกับวัสดุต่างๆ คือ การฝึก
ท�างานกับเศษวัสดุจริงสักเล็กน ้อยหลังจากดูในแผนภูมิแล ้ว คุณสามารถ
28