44
|
ภาษาไทย
1 609 929 S83 | (1.7.09)
Bosch Power Tools
การเปิด
-
ปิดเครื่อง
(GST 120 E)
เปิดเครื่อง
ทำงานโดยดันสวิทช์เปิด
-
ปิด
3
ไปข้างหน้า
ปิดเครื่อง
โดยดันสวิทช์เปิด
-
ปิด
3
ไปด้านท้ายเพื่อให้
"0"
ปรากฏ
เห็นบนสวิทช์
การเปิด
-
ปิดเครื่อง
(GST 120 BE)
เปิดเครื่อง
ทำงานโดยกดสวิทช์เปิด
-
ปิด
3
และกดค้างไว้
ล็อคสวิทช์เปิด
-
ปิด
3
ที่กดค้างไว้
โดยกดปุ่มล็อคสวิทช์เปิด
-
ปิด
2
ปิดเครื่อง
โดยปล่อยนิ้วจากสวิทช์เปิด
-
ปิด
3
หากสวิทช์เปิด
-
ปิด
3
ถูกล็อค
ให้กดสวิทช์เปิด
-
ปิดก่อน
แล้วจึงปล่อยนิ้ว
การควบคุมอัตราขยับชัก
(GST 120 BE)
ท่านสามารถควบคุมอัตราขยับชักของเครื่องที่เปิดสวิทช์ไว้
ได้อย่างต่อเนื่อง
โดยเพิ่มหรือลดแรงกดบนสวิทช์เปิด
-
ปิด
3
เมื่อกดบนสวิทช์เปิด
-
ปิด
3
เบาๆ
จะได้ความเร็วรอบชักขึ้นลง
ต่ำ
ถ้ากดแรงขึ้น
ความเร็วรอบชักขึ้นลงก็จะเพิ่มขึ้นด้วย
หากสวิทช์เปิด
-
ปิด
3
ถูกล็อคไว้
จะไม่สามารถลดความเร็วรอบชัก
ขึ้นลงได้
การตั้งอัตราขยับชักล่วงหน้า
ความเร็วรอบชักขึ้นลงสามารถตั้งไว้ล่วงหน้าด้วยปุ่มเลือกอัตรา
รอบ
-
ชัก
-
เร็ว
ล่วงหน้า
4
และเปลี่ยนค่าได้ขณะเครื่องกำลังเดินอยู่
เกณฑ์จังหวะขยับชักที่ต้องใช้ขึ้นอยู่กับประเภทวัสดุชิ้นงานและ
เงื่อนไขการทำงาน
การทดลองภาคปฏิบัติจะช่วยให้ได้เกณฑ์จังหวะ
ที่ดีที่สุด
ขอแนะนำให้ลดอัตราขยับชักลงขณะใบเลื่อยขบเข้าในวัสดุ
ชิ้นงาน
และเมื่อเลื่อยพลาสติกและอะลูมิเนียม
หลังจากใช้งานเครื่องด้วยความเร็วรอบชักขึ้นลงต่ำเป็นระยะเวลา
นาน
เครื่องอาจร้อนขึ้นมาก
ให้ถอดใบเลื่อยออกจากเครื่อง
และทำให้
เครื่องเย็นลงโดยปล่อยให้เครื่องเดินด้วยความเร็วรอบชักขึ้นลงสูงสุด
นานประมาณ
3
นาที
ข้อแนะนำในการทำงาน
f
หากเลื่อยชิ้นงานขนาดเล็กและบาง
ให้ใช้อุปกรณ์ค้ำยัน
หรือโต๊ะเลื่อย
(
อุปกรณ์ประกอบ
)
เสมอ
ขณะทำงาน
ให้ถือเครื่องที่ด้ามจับ
16
และเคลื่อนนำเครื่องไปตาม
เส้นตัดที่ต้องการ
เพื่อตัดให้ได้เที่ยงตรงและเพื่อให้เครื่องวิ่งเงียบ
ให้เคลื่อนนำเครื่องโดยใช้มืออีกข้างหนึ่งจับที่ฝาครอบพลาสติก
1
กันชน
กันชน
13
ที่ติดอยู่กับตัวเครื่องช่วยป้องกันไม่ให้สัมผัสกับใบเลื่อยโดย
ไม่ตั้งใจขณะทำงาน
และต้องไม่ถอดออก
การจ้วงตัด
(
ดูภาพประกอบ
I–J)
f
การจ้วงตัดจะทำได้เฉพาะเมื่อตัดวัสดุนิ่ม
ตัวอย่าง
เช่น
ไม้
แผ่นกระดานยิปซั่ม
และอื่นๆ
เท่านั้น
!
สำหรับการจ้วงตัด
ต้องใช้เฉพาะใบเลื่อยขนาดสั้นเท่านั้น
การจ้วงตัด
กระทำได้เมื่อตั้งมุมบากไว้ที่ตำแหน่ง
0
องศาเท่านั้น
วางเครื่องโดยให้ขอบหน้าของแผ่นฐาน
7
จดลงบนชิ้นงานแต่ไม่ให้
ใบเลื่อย
12
แตะชิ้นงาน
และเปิดสวิทช์
สำหรับเครื่องที่มีระบบ
ควบคุมอัตราขยับชัก
ให้เลือกอัตราชักขึ้นลงสูงสุด
จับเครื่องเอียง
เข้าหาชิ้นงานอย่างมั่นคง
จ้วงใบเลื่อยเข้าในชิ้นงานอย่างช้าๆ
เมื่อแผ่นฐาน
7
วางเต็มที่บนพื้นผิววัสดุแล้ว
ให้เลื่อยตามเส้นตัด
ต่อไป
ตัวนำเลื่อยแบบขนานพร้อมตัวนำเลื่อยแบบวงแหวน
(
อุปกรณ์ประกอบ
)
สำหรับการตัดโดยใช้ตัวนำเลื่อยแบบขนานพร้อมตัวนำเลื่อยแบบ
วงแหวน
25
(
อุปกรณ์ประกอบ
)
ความหนาของวัสดุชิ้นงานต้องไม่เกิน
30
มม
เป็นอย่างมาก
การตัดแบบขนาน
(
ดูภาพประกอบ
K):
คลายสกรูล็อค
24
ออก
และ
เลื่อนมาตราส่วนของตัวนำเลื่อยแบบขนานเข้าในช่องใส่
23
ใน
แผ่นฐาน
ตั้งความกว้างการตัดที่ต้องการตามค่ามาตราส่วนที่อยู่ใน
ขอบด้านในของแผ่นฐาน
ขันสกรูล็อค
24
เข้าให้แน่น
การตัดรูปวงแหวน
(
ดูภาพประกอบ
L):
ตั้งสกรูล็อค
24
ที่อีก
ด้านหนึ่งของตัวนำเลื่อยแบบขนาน
เลื่อนมาตราส่วนของตัวนำ
เลื่อยแบบขนานเข้าในช่องใส่
23
ในแผ่นฐาน
เจาะรูเข้าในชิ้นงาน
โดยให้รูอยู่ตรงกลางส่วนที่จะเลื่อยออก
ใส่ตัวหมายศูนย์
26
ผ่าน
ช่องเปิดด้านในของตัวนำเลื่อยแบบขนานและเข้าในรูที่เจาะไว้
ตั้ง
รัศมีตามค่ามาตราส่วนที่อยู่ในขอบด้านในของแผ่นฐาน
ขันสกรู
ล็อค
24
เข้าให้แน่น
สารหล่อเย็น
/
น้ำมันหล่อลื่น
เมื่อเลื่อยโลหะ
ให้ชโลมสารหล่อเย็น
/
น้ำมันหล่อลื่นตามรอยตัด
เนื่องจากวัสดุร้อนขึ้น
1
–
2:
อัตราชักขึ้นลง
ต่ำ
3
–
4:
อัตราชักขึ้นลง
ปานกลาง
5
–
6:
อัตราชักขึ้นลง
สูง
OBJ_BUCH-655-004.book Page 44 Wednesday, July 1, 2009 5:13 PM