TECHNICAL NOTICE
CROLL S / CROLL L
B0003300E (070820)
24
TH
คู่มือการใช้งานนี้ อธิบายให้ทราบถึงวิธีการใช้อุปกรณ์อย่างถูกต้อง ได้ระบุข้อมูลทาง
เทคนิคและการใช้งาน
เครื่องหมายคำาเตือนได้บอกให้คุณทราบถึงอันตรายบางส่วนที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้
งานของอุปกรณ์ แต่ไม่อาจบอกได้ทั้งหมด ตรวจเช็คที่ Petzl.com เพื่อหาข้อมูลเพิ่ม
เติมล่าสุด
เป็นความรับผิดชอบของคุณในการระมัดระวังต่อคำาเตือนและการใช้อุปกรณ์อย่าง
ถูกต้อง ข้อผิดพลาดในการใช้อุปกรณ์จะทำาให้เกิดอันตราย ติดต่อ Petzl หรือตัวแทน
จำาหน่ายถ้ามีข้อสงสัย หรือไม่เข้าใจข้อความในคู่มือนี้
1. ส่วนที่เกี่ยวข้องกัน
อุปกรณ์นี้เป็นอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล (PPE) ใช้สำาหรับยับยั้งการตก
ตัวบีบจับเชือกสำาหรับไต่ขึ้นเชือกใช้ยึดติดที่หน้าท้อง
- ตัวบีบจับเชือกสำาหรับ กิจกรรมไต่ภูเขา และการปีนหน้าผา (EN 567)
- ตัวไต่ขึ้นสำาหรับเชือกทำางาน (EN 12841:2006 type B)
อุปกรณ์นี้จะต้องไม่ใช้รับน้ำาหนักเกินกว่าที่ระบุไว้หรือไม่นำาไปใช้ในวัตถุประสงค์
อย่างอื่นนอกเหนือจากที่ได้ถูกออกแบบมา
ความรับผิดชอบ
คำาเตือน
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้อุปกรณ์นี้ เป็นสิ่งที่เป็นอันตราย
ผู้ใช้ต้องมีความรับผิดชอบต่อการกระทำาการตัดสินใจและความปลอดภัย
ก่อนการใช้อุปกรณ์นี้ จะต้อง
- อ่านและทำาความเข้าใจคู่มือการใช้งาน
- การฝึกฝนโดยเฉพาะเพื่อการใช้งานที่ถูกต้อง
- ทำาความคุ้นเคยกับความสามารถและข้อจำากัดในการใช้งานของมัน
- เข้าใจและยอมรับความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง
การขาดความระมัดระวังและละเลยต่อข้อมูลนี้ อาจมีผลให้เกิดการบาดเจ็บสาหัสหรืออาจ
ถึงแก่ชีวิต
อุปกรณ์นี้จะต้องถูกใช้งานโดยผู้ที่มีความสามารถเพียงพอและมีความรับผิดชอบหรือ
ใช้ในสถานที่ที่อยู่ในความรับผิดชอบโดยตรงหรือควบคุมได้โดยผู้เชี่ยวชาญ
เป็นความรับผิดชอบของผู้ใช้งานต่อวิธีการใช้ การตัดสินใจความปลอดภัย และ
ยอมรับในผลที่เกิดขึ้นจากวิธีการนั้น ไม่ควรใช้อุปกรณ์นี้ถ้าคุณไม่สามารถ หรือไม่
อยู่ในสภาวะที่จะรับผิดชอบต่อความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นหรือไม่เข้าใจข้อความในคู่มือ
การใช้งาน
2. ชื่อของส่วนประกอบ
(1) รูสำาหรับคล้องสายรัด (2) ลูกเบี้ยว (3) ตัวจับนิรภัย (4) รูสำาหรับคล้องต่อเข้ากับ
สายรัดนิรภัย (5) แผ่นติดยึด (CROLL S เท่านั้น)
วัสดุประกอบหลัก อลูมีนั่มอัลลอยด์์ โครงสร้าง สแตนเลส ลูกเบี้ยว และแผ่นติดยึด
3. การตรวจสอบ จุดตรวจสอบ
ความปลอดภัยของคุณขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของอุปกรณ์ของคุณ
Petzl แนะนำาให้ตรวจเช็ครายละเอียดของอุปกรณ์โดยผู้เชี่ยวชาญ อย่างน้อยทุก 12
เดือน (ขึ้นอยู่กับข้อกำาหนดกฎหมายของประเทศและสภาพการใช้งาน) บันทึกผล
การตรวจเช็ค PPE ลงในแบบฟอร์มการตรวจเช็ค ชนิด รุ่น ข้อมูลของโรงงานผู้ผลิต
หมายเลขลำาดับการผลิต หรือหมายเลขกำากับอุปกรณ์ วันที่ของการผลิตวันที่สั่งซื้อ วัน
ที่ใช้งานครั้งแรก กำาหนดการตรวจเช็คครั้งต่อไป ปัญหาที่พบ ความคิดเห็น ชื่อของผู้
ตรวจเช็คพร้อมลายเซ็นต์
ก่อนการใช้งานแต่ละครั้ง
บนตัวอุปกรณ์ ตรวจเช็คว่าปราศจากร่องรอยแตกร้าว บิดเบี้ยวผิดรูปร่าง รอยตำาหนิ
สึกกร่อน คราบสนิม
ตรวจเช็คสภาพของโครงสร้าง รูคล้องเชื่อมต่อ ลูกเบี้ยวและที่จับนิรภัย สปริงและ
แกนลูกเบี้ยว
เช็คการเคลื่อนไหวของลูกเบี้ยว และประสิทธิภาพของสปริงของมัน
ตรวจเช็คว่าฟันไม่มีสิ่งสกปรกอุดตัน
คำาเตือน ห้ามใช้ ตัวบีบจับเชือกที่มีชิ้นส่วนฟันของลูกเบี้ยวสึกกร่อนหรือหลุดหายไป
ระหว่างการใช้งาน
เป็นเรื่องสำาคัญอย่างยิ่งที่ต้องตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์อยู่เป็นประจำา และการต่อ
เชื่อมอุปกรณ์เข้ากับอุปกรณ์ตัวอื่นในระบบ แน่ใจว่าทุกชิ้นส่วนของอุปกรณ์อยู่ใน
ตำาแหน่งที่ถูกต้องกับชิ้นส่วนอื่น
ข้อควรระวัง
- สิ่งแปลกปลอมที่อาจเข้าไปติดขัดการทำางานของลูกเบี้ยว
- สภาพที่ตัวจับป้องกันภัยถูกขัดขวางการทำางานซึ่งเป็นเหตุให้ลูกเบี้ยวถูกดันเปิดออก
4. ความเข้ากันได้
ตรวจเช็คว่าอุปกรณ์นี้ สามารถใช้งานเข้ากันได้ดีกับอุปกรณ์อื่นในระบบ (เข้ากันได้ดี =
ใช้งานด้วยกันได้โดยไม่ติดขัด)
อุปกรณ์ที่นำามาใช้งานร่วมกับCROLL จะต้องสอดคล้องกับข้อกำาหนดมาตรฐานที่ใช้
บังคับในแต่ละประเทศ (เช่น EN 12275 เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับตัวเชื่อมต่อ)
ตัวล็อคเชื่อมต่อ
ตรวจเช็ค ความเข้ากันได้ ตัวล็อคเชื่อมต่อ/ตัวบีบจับเชือก (การติดยึด ส่วนประกอบถูก
ต้อง และตรวจสอบตำาแหน่งที่ไม่เหมาะสมที่อาจเกิดขึ้นได้)
5. การทำางานและการทดสอบ
ด้วยการเลื่อนไหลตัวขึ้นบนเชือกในทิศทางหนึ่ง และล็อคในอีกทิศทางหนึ่ง
ฟันของลูกเบี้ยวทำาการล็อคโดยการกดจิกลงบนเชือกที่อยู่ระหว่างลูกเบี้ยวและเฟรม
ช่องว่างที่อยู่ระหว่างลูกเบี้ยวอาจเป็นเหตุให้ฝุ่นโคลนเข้าไปติดฝังอยู่
6. การติดตั้งอุปกรณ์บนสายรัดนิรภัย
ติดตั้งอุปกรณ์เข้ากับสายรัดนิรภัยโดยเชื่อมต่อผ่านห่วงล็อค หรือ OMNI เข้ากับรู
สำาหรับคล้องต่อ
ติดยึดสายรัดอกที่รูคล้องด้านบน อุปกรณ์จะติดยึดกับสายรัดอกอยู่ในตำาแหน่งแนวดิ่ง
CROLL ใช้งานด้วยการติดยึดโดยตรงกับสายรัดนิรภัย โดยปราศจากเชือกสั้น
ดันลูกเบี้ยวของ CROLL ปิดลงในขณะที่ไม่ได้ใช้งาน เพราะอาจมีสิ่งแปลกปลอม
เข้าไปติดในช่องสอดเชือกได้หากถูกเปิดทิ้งไว้
7. การติดตั้งเชือก และการปลดออก
ให้สังเกตุเครื่องหมายบ่งชี้ Up/Down
การปลดเชือกออก
เลื่อนอุปกรณ์ขึ้นบนเชือกในขณะดึงตัวจับนิรภัยลงและดันลูกเบี้ยวออก
8. การไต่ขึ้นเชือก
ใช้ CROLL ร่วมกับตัวบีบจับเชือกอื่น (เช่น BASIC เป็นต้น) และห่วง-คล้องเท้า foot
loop ยึดติดตัวคุณกับตัวบีบจับเชือกเส้นที่สอง และเชือกสั้นที่เหมาะสมกันเสมอ
สถานการณ์ที่เป็นมุมเอียง
เริ่มต้นที่มุมเอียงของเชือก วางเท้าลงบนเชือก จัดให้ตรงกับแนวของร่องเชือกบน
CROLL
9. การลงระยะสั้น
โดยการดันเลื่อนตัวอุปกรณ์ขึ้นบนเชือกแล้วให้ใช้นิ้วชี้ดันลูกล้อลงไปในขณะเดียวกัน
ห้ามทำาการปรับเปลี่ยนตัวจับนิรภัย เพราะอาจทำาให้เสี่ยงต่อการเกิดอุบัตเหตุ ขณะที่
เปิดดันลูกเบี้ยวออก
10. ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ EN 12841 type B
CROLL จะต้องใช้ร่วมกับอุปกรณ์ type A backup บนเชือก (ป้องกันภัย) เส้นที่สอง
- CROLL ไม่เหมาะสำาหรับใช้ในระบบเพื่อยับยั้งการตก
- ผ่านการรับรองตามมาตรฐาน EN 12841:2006 type B ใช้เชือก 891 type A low
stretch kernmantle ขนาด 10-11มมกับ CROLL S และ 10-13มมกับ CROLL L
(หมายเหตุ ผ่านการรับรองด้วยการทดสอบ กับเชือก Petzl CLUB 10มม Petzl AXIS
11มม และเชือก Teufelberger KM3 13มม)
- ใช้ตัวล็อคเชื่อมต่อ ที่มีความยาวสูงสุด 15ซม (ตัวล็อคเชื่อมต่อ ที่ติดยึด CROLL เข้า
กับจุดผูกยึดของสายรัดนิรภัย)
- อย่าปล่อยให้เชือกหย่อน ระหว่างตัวปรับเชือกและจุดผูกยึด เพื่อช่วยลดความเสี่ยง
จากการตก
เมื่อคุณอยู่ในสภาวะที่เชือกเส้นทำางานถูกดึงตึง ต้องแน่ใจว่าเชือกเส้นเซฟไม่ได้ถูก
กดด้วยน้ำาหนัก
การกดลงของแรงแบบยืดหยุ่นสามารถทำาให้เชือกเส้นเซฟเสียหายได้
ค่าการรับแรงสูงสุด 140กก
11. ข้อมูลเพิ่มเติม
- คุณจะต้องมีแผนการกู้ภัยและรู้วิธีการทำาได้อย่างรวดเร็วในกรณีที่ประสบความยุ่ง
ยากขึ้นในขณะที่ใช้อุปกรณ์นี้
- จุดผูกยึดในระบบ จะต้องอยู่เหนือตำาแหน่งของผู้ใช้งาน และทำาตามข้อกำาหนดของ
มาตรฐาน EN 795 (ความแข็งแรงต้องไม่น้อยกว่า 12 kN)
- ในระบบยับยั้งการตกเป็นสิ่งสำาคัญที่จะต้องตรวจเช็คพื้นที่ว่างด้านใต้ของผู้ใช้งาน
ก่อนการใช้งานทุกครั้ง เพื่อหลีกเลี่ยงการหล่นไปกระแทกกับพื้นหรือสิ่งกีดขวางใน
กรณีที่มีการตกเกิดขึ้น
- ต้องแน่ใจว่า จุดผูกยึดอยู่ในตำาแหน่งที่ถูกต้องเพื่อลดความเสี่ยง และระยะทางของ
การตก
- สายรัดนิรภัยเป็นเพียงอุปกรณ์ที่ช่วยพยุงร่างกาย ในระบบยับยั้งการตกเท่านั้น
- เมื่อใช้อุปกรณ์หลายชนิดร่วมกันอาจเกิดผลร้ายต่อความปลอดภัยในกรณีที่อุปกรณ์
ชนิดหนึ่งถูกลดประสิทธิภาพลงด้วยส่วนประกอบเพื่อความปลอดภัยของอุปกรณ์
ชนิดอื่น
- คำาเตือน อันตราย ดูแลอุปกรณ์โดยหลีกเลี่ยงการถูกสัมผัสกับสารกัดกร่อน หรือวัตถุ
ที่มีพื้นผิวแหลมคม
- ผู้ใช้งานต้องมีสภาพร่างกายแข็งแรง เหมาะกับกิจกรรมในที่สูง คำาเตือน การห้อย
ตัวอยู่ในสายรัดสะโพกเป็นเวลานานอาจมีผลทำาให้เกิดการบาดเจ็บสาหัส หรืออาจ
ถึงแก่ชีวิต
- คู่มือการใช้งานของอุปกรณ์แต่ละชนิดที่ใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์นี้ต้องปฏิบัติตาม
อย่างเคร่งครัด
- ถ้าอุปกรณ์ ถูกส่งไปจำาหน่ายยังนอกอาณาเขตของประเทศผู้เป็นแหล่งผลิต ตัวแทน
จำาหน่ายจะต้องจัดทำาคู่มือการใช้งานในภาษาท้องถิ่นของประเทศที่อุปกรณ์นี้ถูกนำา
ไปใช้งาน
- แน่ใจว่าป้ายเครื่องหมายที่ติดบนอุปกรณ์สามารถอ่านได้ชัดเจน
ควรยกเลิกการใช้อุปกรณ์เมื่อไร
ข้อควรระวัง ในกิจกรรมที่มีการใช้อย่างรุนแรงอาจทำาให้อุปกรณ์ต้องถูกเลิกใช้แม้หลัง
จากการใช้งานเพียงครั้งเดียวทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับชนิดของการใช้งานและสภาพแวดล้อม
(สภาพที่แข็งหยาบ สถานที่ใกล้ทะเล สิ่งของมีคม สภาพอากาศที่รุนแรง สารเคมี)
อุปกรณ์จะต้องเลิกใช้ เมื่อ
- ได้เคยมีการตกกระชากอย่างรุนแรง (หรือเกินขีดจำากัด)
- เมื่อไม่ผ่านการตรวจเช็คสภาพ เมื่อมีข้อสงสัยหรือไม่แน่ใจ
- เมื่อไม่ทราบถึงประวัติการใช้งานมาก่อน
- เมื่อตกรุ่น ล้าสมัยจากการเปลี่ยนกฏเกณฑ์มาตรฐานเทคนิค หรือ ความเข้ากันไม่ได้
กับอุปกรณ์อื่น
ทำาลายอุปกรณ์เพื่อหลีกเลี่ยงการนำากลับมาใช้อีก
สัญลักษณ์
A. ไม่จำากัดอายุการใช้งาน - B. สภาพภูมิอากาศ ที่สามารถใช้งานได้ - C. ข้อควรระวัง
การใช้งาน - D. การทำาความสะอาด - E. ทำาให้แห้ง - F. การเก็บรักษา/การขนส่ง - G.
การบำารุงรักษา - H. การดัดแปลงเพิ่มเติม/การซ่อมแซม (ไม่อนุญาตให้ทำาภายนอก
โรงงานของ Petzl ยกเว้นส่วนที่สามารถใช้ทดแทนได้) - I. คำาถาม/ติดต่อ
อุปกรณ์มีการรับประกันเป็นเวลา 3 ปี
เกี่ยวกับวัตถุดิบหรือความบกพร่องจากการผลิต ข้อยกเว้นจากการรับประกัน การ
ชำารุดบกพร่องจากการใช้งานตามปกติ ปฏิกิริยาจากสารเคมี การแก้ไขดัดแปลง การ
เก็บรักษาไม่ถูกวิธี ขาดการดูแล การนำาไปใช้งานที่นอกเหนือจากที่อุปกรณ์ได้ถูก
ออกแบบไว้
เครื่องหมายคำาเตือน
1. สถานการณ์เสี่ยงที่อาจจะเกิดอันตรายบาดเจ็บสาหัส หรือ เสียชีวิต 2. มีความเสี่ยง
ในการเกิดอุบัติเหตุ หรือ การบาดเจ็บ 3. ข้อมูลสำาคัญที่เกี่ยวกับระบบการทำางาน หรือ
คุณสมบัติของอุปกรณ์ 4. ความเข้ากันไม่ได้ของอุปกรณ์
เครื่องหมายและข้อมูล
a. มีคุณสมบัติตามข้อกำาหนดของอุปกรณ์ PPE ชื่อเฉพาะที่บอกถึงการทดลองผ่าน
มาตรฐาน EU - b. หมายเลขรับรองที่ผ่านการทดสอบที่ใช้ในการควบคุมการผลิตของ
PPE นี้ - c. การสืบมาตรฐาน ข้อมูลแหล่งกำาเนิด - d. การป้องกันไว้ก่อน - e. หมายเลข
ลำาดับ - f. ปีที่ผลิต - g. เดือนที่ผลิต - h. หมายเลขลำาดับการผลิต - i. หมายเลขกำากับ
ตัวอุปกรณ์ - j. มาตรฐาน - k. อ่านคู่มือการใช้โดยละเอียด - l. ข้อมูลระบุรุ่น - m. ที่อยู่
ของโรงงานผู้ผลิต - o. กำาหนดทิศทางของการทำางาน - p. รับน้ำาหนัก - q. EN 1891
เชือกแบบtype A ตามมาตรฐาน EN 12841