background image

17

ของชิ้นงาน และมุมของการเขามุม จำเปนตองใชเครื่องชวยอื่นๆ 

(เชน สปริง, บาร หรือ 

C-

แคลมป) เพื่อยึดชิ้นงานเขากับที่กั้นใน

ขณะที่ทำการตัดในลักษณะเหลานี้

ในการเปลี่ยนแปลงระยะระหวางที่กั้นและเครื่องหนีบ

ใชประแจที่ใหมาเพื่อคลาย และถอดโบลตที่กั้นสองตัว 

(P)

 ออก 

ปรับที่กั้น 

(E)

 ไปยังตำแหนงที่ตองการ ใสโบลตที่กั้นทั้งสองใน

ตำแหนงที่มีให ไขโบลตที่กั้นทั้งสองตัวใหแนนกอนใชงาน 

การถอดและการติดตั้งแผนเจียร

 (

รูปที่

 7, 8)

ขอควรระวัง

:

 

ปดและถอดปลั๊กเครื่องกอนทำการปรับ

ใดๆ หรือกอนถอดหรือใสอุปกรณยึดติดหรืออุปกรณ

เสริม ทริกเกอรสวิตชตองอยูในตำแหนง ปด อยาทำการ

ปรับแตงใดๆ ในขณะที่แผนเจียรมีการเคลื่อนที่ อยาทำการ

ปรับแตงใดๆ ในขณะที่เลื่อยตัดเสียบปลั๊กอยูกับแหลงจายไฟ

1.    

ผลักล็อคแกน 

(L)

 และหมุนแผนเจียร 

(J)

 ดวยมือ จนกระทั่ง

คานล็อคแผนเจียรสวมกับสล็อตดานใน จาน (R) เพื่อล็อค

แผนเจียร คลายโบลต 

(S)

 ทวนเข็มนาิกา ที่ศูนยกลางของ

แผนเจียรขัด ดวยประแจหกเหลี่ยมขนาด 

8

 มม. 

(G)

 โบลตมี

เกลียวแบบขวามือ

2.    

ถอดโบลต 

(S),

 แหวน 

(T),

 จานดานนอก 

(U)

 และแผนเจียร

เดิม 

(J)

 ออก

3.    

ใหแนใจวาพื้นผิวของจานสะอาด และเรียบ ติดตั้งแผนเจียร

ขัดใหม โดยการทำตามขั้นตอนในลำดับยอนกลับ

4.    

อยาไขโบลตแนนเกินไป

คำเตือน

:

 ตรวจสอบพื้นผิวงานที่เลื่อยตัดจะวางอยูบน 

เมื่อเปลี่ยนแผนเจียรขัดใหม เปนไปไดวาแผนเจียรอาจสัมผัส

กับสิ่งของ หรือโครงสรางใดๆ ที่ยืดออกมาเหนือพื้นผิวงาน 

(ขางใตฐาน) เมื่อลดระดับแขนลงต่ำสุด

เทคนิคการทำงานเพื่อการตัดที่มีความแมนยำ

มากขึ้น

• 

ปลอยใหแผนเจียรทำการตัด แรงที่มากเกินไปจะทำให

แผนเจียรมีประสิทธิภาพในการตัดลดลงและ/หรือมีทิศทาง

เบี่ยงเบนไป ซึ่งเปนสาเหตุใหการตัดไมแมนยำ

• 

ปรับมุมที่กั้นอยางเหมาะสม

 

ตรวจดูใหแนใจวาวางวัสดุบนฐานที่เรียบ

• 

ยึดวัสดุอยางเหมาะสม เพื่อหลีกเลี่ยงการเคลื่อนที่และการสั่น

การตรวจสอบและการเปลี่ยนแปรงถานมอเตอร 

(

รูปที่ 

9)

คำเตือน

ปดเครื่องและถอดปลั๊กเครื่องมือ สวิตชปรับ

ระดับความเร็วตองอยูในตำแหนง “ปด”

  

แปรงถานควร

ไดรับการตรวจสอบการสึกกรอนเปนประจำในการตรวจสอบ

แปรงถาย ไขสกรูปดฝาสองตัว 

(V)

 และถอดฝา 

(W)

 ออก 

ถอดฝาแปรง 

(Y)

 ออก แปรงถาน 

(X)

 ควรเลื่อนไดอยางอิสระ

ในกลองแปรง ถาแปรงถานสึกเหลือต่ำกวา 

0.3"

 (

8

 มม.) 

ดังแสดงในภาพที่ 

9

 ควรเปลี่ยนอันใหม ในการติดตั้งกลับคืน 

ใหผลักแปรงใหมกลับเขาไปในกลองแปรง ถาเปนการใส

แปรงที่มีอยูเดิมกลับ ใหคงทิศทางเดียวกับในขณะที่ถอด

อนุญาตใหตัดไดลึกมากขึ้น ใหใชประแจแบน 

(G)

 ที่ใหมา เพื่อคลาย

โบลตหยุดความลึก 

(M)

 และยกโบลตขึ้นไปยังความสูงที่ตองการ 

จากนั้นหมุนน็อตสวมทับ 

(M)

 ตามเข็มนาิกา จนกระทั่งยึดบน

ตัวเครื่องอยางแนนหนา ไขโบลตหยุดความลึกใหแนนกอนที่จะใช

ขอควรระวัง

:

 ในขณะที่เปลี่ยนไปเปนแผนเจียรใหมใหปรับ

ระยะหยุดความลึกไปยังตำแหนงดั้งเดิม เพื่อปองกันไมใหตัด

เขาไปในพื้นผิวสนับสนุน

ทริกเกอรสวิตช

 (

รูปที่

 1)

ในการเริ่มเครื่องมือ กดทริกเกอรสวิตช 

(N)

 เมื่อตองการปดเครื่อง 

ใหปลอยทริกเกอรสวิตช จับแผนเจียรและวัสดุไว จนกระทั่งไปจน

ถึงระยะหยุด เพื่อปองกันการใชเครื่องมือโดยไมไดรับอนุญาต 

ใหติดตั้งกุญแจล็อคมาตรฐาน (ไมไดใหมา) ลงในรูกุญแจล็อค 

(O)

 

ที่อยูในทริกเกอร

การหนีบและการรองรับวัสดุ

• 

มุมที่ดีที่สุดในการหนีบและตัด โดยใหขาทั้งสองยันอยูกับฐาน

• 

สามารถใชบล็อกชองวางที่แคบกวาชิ้นงานเล็กนอยเพื่อเพิ่ม

การใชแผนเจียรได

 (

รูปที่

 2)

• 

ตองรองรับชิ้นงานที่ยาวดวยบล็อกเพื่อใหชิ้นงานไดระดับ

กับสวนบนของฐาน 

(

รูปที่

 3)

 ปลายที่ตัดออกควรสามารถ

หลนลงพื้นไดอยางอิสระ เพื่อหลีกเลี่ยงการติดกับแผนเจียร

กระบวนการหนีบ

 (

รูปที่

 4)

เครื่องหนีบ 

(F)

 มีคุณสมบัติในการเลื่อนที่รวดเร็วในการคลาย

เครื่องหนีบเมื่อยึดอยางแนนหนา ใหหมุนขอเหวี่ยง 

(H)

 ทวนเข็ม

นาิกาหนึ่งหรือสองครั้ง เพื่อคลายแรงดันของการหนีบ ยกคาน

เครื่องหนีบ 

(I)

 ขึ้น ดึงสวนประกอบของขอเหวี่ยงออกไปไกลตาม

ที่ตองการ เครื่องหนีบอาจถูกผลักไปขางหนาเพื่อทำงานเมื่อไมมี

ขอเหวี่ยง ลดคานเครื่องหนีบ 

(I)

 ลง จากนั้นไขเครื่องหนีบ 

(F)

 บน

ชิ้นงานเมื่อใชขอเหวี่ยง 

(H)

การทำงานของที่กั้น

 (

รูปที่

 5, 6)

ขอควรระวัง

:

 ปดและถอดปลั๊กเครื่องกอนทำการปรับใดๆ 

หรือกอนถอดหรือใสอุปกรณยึดติดหรืออุปกรณเสริม 

ทริกเกอรสวิตชตองอยูในตำแหนง ปด ที่กั้น 

(E)

 

สามารถปรับไดในสองทิศทาง

:

 เพื่อเปลี่ยนมุมการตัดตาม

ตองการและเพื่อเปลี่ยนระยะหางระหวางที่กั้นและเครื่องหนีบ

ในการเปลี่ยนมุมการตัดที่ตองการ

ใชประแจที่ใหมาเพื่อคลาย (อยาถอดออก) โบลตที่กั้นสองตัว 

(P)

 

จัดแนวเสนตัวระบุมุมที่ตองการใหตรงกับเสนสล็อต 

(A)

 ในฐาน 

(D)

 

ไขโบลตที่กั้นทั้งสองตัวใหแนนกอนใชงาน สำหรับการตัดสี่เหลี่ยม

ที่มีความแมนยำมากขึ้น ใหตัดการเชื่อมตอแหลงจายไฟ คลายโบลต

ที่กั้นสองตัว ผลักแขนลงจนกระทั่งแผนเจียรยืดเขาไปในฐาน 

วางแผนสี่เหลี่ยมขวางแผนเจียร และปรับที่กั้นเพื่อดันสี่เหลี่ยมไว 

ไขโบลตที่กั้นทั้งสองตัวใหแนนกอนใชงาน เมื่อทำการตัดเพื่อ

เขามุม เครื่องหนีบ 

(F)

 อาจยึดชิ้นงานไมแนน ขึ้นอยูกับความหนา

ภาษาไทย

Summary of Contents for STEL701

Page 1: ...STEL701 ENGLISH BAHASA INDONESIA TI NG VI T 3 9 14 19...

Page 2: ...WORK PIECE WIDTH OF SPACE BLOCK SPACE BLOCK E F X 3 8mm FIG 1 FIG 2 FIG 5 FIG 9 FIG 4 E H I F P FORWARD FIG 7 L FIG 8 R J U T S Y W V K J F H I L N o A M G X E D FIG 3 CUT OFF END BLOCK C B F P A E FI...

Page 3: ...alert watch what you are doing and use common sense when operating a power tool Do not use a power tool while you are tired or under the influence of drugs alcohol or medication A moment of inattenti...

Page 4: ...us in the hands of untrained users e Maintain power tools Check for misalignment or binding of moving parts breakage of parts and any other condition that may affect the power tools operation If damag...

Page 5: ...V Volts A Amperes Hz Hertz W Watts min minutes Alternating current Direct current n0 No load speed Class II Construction Earthing terminal Safety alert symbol min Revolutions or reciprocationsper minu...

Page 6: ...ame orientation as when removed Replace the brush cap do not overtighten Replace end cap and two screws Tighten securely CAUTION When changing to a new wheel readjust depth stop to original position t...

Page 7: ...our tool is not user serviceable Take the tool to an authorized Stanley repair agent This tool should be serviced at regular intervals or when showing a noticeable change in performance Lubrication St...

Page 8: ...R BENDA KERJA LEBAR RUANG KAYU RUANG KAYU E F X 3 8 mm GBR 1 GBR 2 GBR 5 GBR 9 GBR 4 E H I F P MAJU GBR 7 L GBR 8 R J U T S Y W V K J F H I L N o A M G X E D GBR 3 TEPI POTONG KAYU C B F P A E GBR 6 P...

Page 9: ...u dengan Pemutus Sirkuit Kebocoran Tanah ELCB 3 Keselamatan diri a Tetaplah waspada perhatikan apa yang Anda tengah kerjakan dan gunakan akal sehat saat mengoperasikan alat listrik Jangan mengoperasi...

Page 10: ...eh mereka yang tidak memahami alat listrik atau semua petunjuk yang ada di sini Alat listrik akan berbahaya jika digunakan oleh pengguna yang belum terlatih e Rawatlah alat listrik Anda Lakukan pemeri...

Page 11: ...k Arus searah Tidak ada Kecepatan tanpa beban Konstruksi Kelas II Sambungan dibumikan Simbol waspada keselamatan menit Putaran atau pemutarbalikan per menit KESELAMATAN KELISTRIKAN Peringatan Jika kab...

Page 12: ...terlalu kencang Ganti tutup ujung dan dua sekrup Kencangkan dengan aman WASPADA Saat beralih ke roda baru sesuaikan kembali penghenti kedalaman ke posisi awal untuk mencegah memotong alas penopang To...

Page 13: ...s secara berkala atau saat menunjukkan perubahan kinerja yang jelas Pelumas Alat Stanley sudah dilumasi dengan benar di pabrik dan siap digunakan Alat harus dilumasi secara berkala bergantung pada pen...

Page 14: ...14 Stanley 1 2 RCD RCD RCD GFCI ELCB 3 4 STEL701 STEL701 2100W 2100 0 3800 355 15 5...

Page 15: ...15 14 1 4100 rpm NIOSH OSHA 14 355 4100 RPM 2 8 355 5 C...

Page 16: ...ack Decker 1 4 A B C D E F G H I J K L M N O P X S 10 A x B 90 45 A 4 7 8 125 A 4 1 2 115 A 4 1 2 115 A 3 13 16 98 4 1 2 x 5 1 8 115 x 130 4 x 7 5 8 102 x 188 3 x 7 3 8 76 x 229 4 1 2 x 3 13 16 4 1 8...

Page 17: ...17 C P E 7 8 1 L J R S 8 G 2 S T U J 3 4 9 V W Y X 0 3 8 9 G M M 1 N O 2 3 4 F H I I F H 5 6 E P A D F...

Page 18: ...18 3 Stanley RPM 1 4100 rpm Stanley Stanley Stanley Stanley Stanley Stanley Stanley Stanley...

Page 19: ...v n h nh d ng c i n c m tay ngo i tr i h y s d ng d y n i d i ph h p s d ng ngo i tr i S d ng d y i n ph h p s d ng ngo i tr i s gi m nguy c b i n gi t f N u b t bu c ph i v n h nh d ng c i n c m tay...

Page 20: ...v c c v t li u tr nh xa kh i t m ch n tia l a Tr nh ti p x c v i b i t c c ho t ng ch nh m c t s t c t khoan v c c ho t ng x y g N u c c thi t b c cung c p n i c c ph ng ti n h t ho c gom b i h y m b...

Page 21: ...u d y n i t Bi u t ng c nh b o an to n ph t S v ng quay ho c s l n qua l i trong m t ph t AN TO N I N C nh b o N u d y i n b h ng th ph i c thay b i nh s n xu t Trung t m D ch v c y quy n c a Stanley...

Page 22: ...bu l ng l ch n P i u ch nh l ch n E t i v tr mong mu n V n bu l ng l ch n v o c c v tr Xi t ch t c hai bu l ng l ch n tr c khi s d ng Th o l p a h nh 7 8 CH T t v r t ngu n d ng c tr c khi i u ch nh...

Page 23: ...d ch v c y quy n PH KI N Hi u su t c a d ng c i n c m tay ph thu c v o ph ki n c s d ng Ph ki n c a Stanley c ch t o theo ti u chu n ch t l ng cao v c thi t k nh m t ng c ng hi u su t l m vi c cho d n...

Page 24: ...huy n c o b n n n li n l c v i h i ng a ph ng l y th ng tin v x l r c th i Th ng tin D ch v Stanley c s n m t m ng l i c c trung t m tr c thu c v y quy n tr n kh p Ch u T t c c c trung t m d ch v u c...

Reviews: