97
ภาษาไทย
ไฟแสดงสถานะ
แบตเตอรี่ที่
เหลือ
ไฟสว่าง
ดับ
กะพริบ
75% ถึง
100%
50% ถึง 75%
25% ถึง 50%
0% ถึง 25%
ชาร์จไฟ
แบตเตอรี่
แบตเตอรี่อาจ
จะเสีย
หมายเหตุ:
ขึ้นอยู่กับสภาพการใช้งานและอุณหภูมิ
โดยรอบ การแสดงสถานะอาจจะแตกต่างจากปริมาณ
แบตเตอรี่จริงเล็กน้อย
หมายเหตุ:
ไฟแสดงสถานะดวงแรก (ซ้ายสุด) จะกะพริบ
เมื่อระบบป้องกันแบตเตอรี่ท�างาน
การท�างานของสวิตช์
ค�ำเตือน:
ก่อนใส่ตลับแบตเตอรี่ลงในเครื่องมือ ให้
ตรวจสอบว่าสวิตช์สั่งงานสามารถท�างานได้อย่างถูกต้อง
และกลับไปยังต�าแหน่ง “ปิด” เมื่อปล่อย
ค�ำเตือน:
ห้ามท�าลายปุ่มปลดล็อคโดยใช้เทปพันหรือ
วิธีอื่น
สวิตช์ที่ปุ่มปลดล็อคใช้ไม่ได้อาจท�าให้เกิดการใช้
งานโดยไม่ตั้งใจและท�าให้เกิดการบาดเจ็บร้ายแรงได้
ค�ำเตือน:
ห้ามใช้เครื่องมือหากเครื่องมือสามารถ
ท�างานได้เมื่อคุณดึงสวิตช์สั่งงานโดยไม่ได้กดปุ่มปลดล็อค
สวิตช์ที่ต้องท�าการซ่อมแซมอาจท�าให้เกิดการใช้งานโดย
ไม่ตั้งใจและท�าให้เกิดการบาดเจ็บร้ายแรงได้ น�าเครื่องมือ
ส่งศูนย์บริการ Makita เพื่อการซ่อมแซมก่อนการใช้งาน
เพื่อป้องกันไม่ให้สวิตช์สั่งงานถูกดึงโดยไม่ได้ตั้งใจจึงมีปุ่ม
ปลดล็อคติดตั้งไว้ เพื่อเริ่มใช้งานเครื่องมือ กดปุ่มปลดล็อค
แล้วดึงสวิตช์สั่งงาน ปล่อยสวิตช์สั่งงานเพื่อหยุดท�างาน
►
หมายเลข 9:
1.
สวิตช์สั่งงาน
2.
ปุ่มล็อค
ข้อสังเกต:
อย่าดึงสวิตช์สั่งงานแรงๆ โดยไม่ได้กดปุ่ม
ปลดล็อค
การท�าเช่นนี้อาจท�าให้สวิตช์เสียหายได้
ข้อควรระวัง:
เครื่องมือจะเริ่มหยุดการหมุนของใบ
เลื่อยวงกลมทันทีหลังจากคุณปล่อยสวิตช์สั่งงาน จับ
เครื่องมือให้แน่นเพื่อรับมือกับปฏิกิริยาการหยุดท�างาน
เมื่อปล่อยสวิตช์สั่งงาน
ปฏิกิริยาฉับพลันอาจท�าให้เครื่อง
มือหลุดออกจากมือของคุณ และท�าให้ได้รับบาดเจ็บได้
การปรับความลึกในการตัด
ข้อควรระวัง:
หลังปรับความลึกในการตัดแล้ว ให้ขัน
ก้านให้แน่นเสมอ
คลายก้านบนตัวน�าวัดความลึกและขยับฐานขึ้นหรือลง เมื่อ
ถึงความลึกในการตัดที่ต้องการแล้ว ให้ยึดฐานไว้โดยขันก้าน
หากต้องการให้ตัดได้สะอาดและปลอดภัยยิ่งขึ้น ให้ตั้งค่า
ความลึกในการตัดโดยไม่ให้ฟันเลื่อยยื่นออกมาใต้ชิ้นงาน
เกินหนึ่งซี่ การใช้ความลึกในการตัดที่เหมาะสมจะช่วยลด
โอกาสในการดีดกลับที่อันตรายซึ่งอาจท�าให้เกิดการบาดเจ็บ
►
หมายเลข 10:
1.
ก้าน
ข้อสังเกต:
หากส่วนฐานไม่เลื่อนขึ้นหรือลงอย่างราบ
รื่น ตัวน�าวัดความลึกอาจเอียงอยู่ ในกรณีดังกล่าว ให้ปรับ
ตัวน�าวัดความลึก (ดูที่ส่วนการปรับตัวน�าวัดความลึก)
การตัดมุมเอียง
ข้อควรระวัง:
หลังปรับมุมเอียงแล้ว ให้ขันก้านและ
สกรูกันคลายให้แน่นเสมอ
คลายก้านและสกรูกันคลาย ก�าหนดมุมที่ต้องการโดยเอียง
ไปทางมุมนั้น จากนั้นขันก้านและสกรูกันคลายให้แน่น
►
หมายเลข 11:
1.
ก้าน
2.
สกรูกันคลาย
สต็อปเปอร์ต�าแหน่ง
สต็อปเปอร์ต�าแหน่งมีประโยชน์ในการตั้งค่ามุมที่ก�าหนดได้
อย่างรวดเร็ว ปรับสต็อปเปอร์ต�าแหน่งเพื่อให้ลูกศรชี้ไปใน
มุมเอียงที่ต้องการ (ประมาณ 22.5
°
/45
°
/60
°
) คลายก้าน
และสกรูกันคลาย จากนั้นเอียงฐานเครื่องมือจนฐานเครื่อง
มือหยุด ต�าแหน่งที่ฐานเครื่องมือหยุดจะเป็นมุมที่คุณตั้งค่า
ไว้ที่สต็อปเปอร์ต�าแหน่ง ขันก้านและสกรูกันคลายกับฐาน
เครื่องมือที่ต�าแหน่่งนี้
►
หมายเลข 12:
1.
สต็อปเปอร์ต�าแหน่ง
การตัดมุมเอียง -1
°
ในการตัดมุมเอียง -1
°
ให้คลายก้านและสกรูกันคลาย ตั้งมุม
เอียงไปที่ -1
°
ในขณะที่ปรับก้านสต็อปเปอร์ในทิศทางตาม
ลูกศร หลังจากนั้น ให้ขันก้านและสกรูกันคลายให้แน่น
►
หมายเลข 13:
1.
ก้านสต็อปเปอร์
Summary of Contents for HS010GZ
Page 2: ...Fig 1 Fig 2 Fig 3 Fig 4 Fig 5 Fig 6 3 2 1 Fig 7 2 ...
Page 3: ...1 2 Fig 8 2 1 Fig 9 1 Fig 10 1 2 Fig 11 1 Fig 12 1 Fig 13 2 1 Fig 14 3 ...
Page 6: ...Fig 30 1 Fig 31 1 2 3 4 Fig 32 1 2 3 Fig 33 1 Fig 34 6 ...
Page 7: ...1 2 1 2 Fig 35 Fig 36 1 Fig 37 1 2 Fig 38 1 Fig 39 1 Fig 40 7 ...
Page 8: ...1 2 1 2 Fig 41 1 2 Fig 42 1 Fig 43 8 ...
Page 107: ...107 ...