28
|
ภาษาไทย
1 609 92A 2VL | (18.10.16)
Bosch Power Tools
การปรับความลึกรูเจาะ
(
ดูภาพประกอบ
B)
ความลึกรูเจาะที่ต้องการ
X
สามารถตั้งได้ด้วยก้านวัด
ความลึก
11
–
กดปุ่มปรับก้านวัดความลึก
8
และสอดก้านวัดความลึก
เข้าในด้ามจับเพิ่ม
10
ต้องหันด้านที่เป็นสันของก้านวัดความลึก
11
ลงข้างล่าง
–
ใส่เครื่องมือเจาะ
SDS-plus
เข้าในด้ามจับเครื่องมือ
SDS-plus
1
จนสุด
หากใส่ไม่สุดเครื่องมือเจาะ
SDS-
plus
จะเคลื่อนที่ได้
และจะทําให้ปรับความลึกรูเจาะ
ได้ไม่ถูกต้อง
–
ดันก้านวัดความลึกออกมาจนระยะห่างระหว่างปลาย
ดอกสว่านและปลายก้านวัดความลึกเท่ากับความลึกรูเจาะ
ที่ต้องการ
X
การเลือกหัวจับดอกและเครื่องมือ
สําหรับการเจาะตอก
ต้องใช้เครื่องมือ
SDS-plus
ที่สามารถ
ใส่เข้าในหัวจับดอก
SDS-plus
สําหรับการเจาะโดยไม่กระแทกในไม้
โลหะ
เซรามิก
และ
พลาสติค
รวมทั้งการขันสกรู
ต้องใช้เครื่องมือท
ี่ไม่มี
SDS-
plus (
ต
.
ย
.
เช่น
ดอกสว่านที่มีก้านทรงกระบอก
)
ต้องใช้หัว
จับดอกไร้เฟืองในหรือหัวจับดอกที่มีเฟืองในสําหรับเครื่องมือเ
จาะประเภทนี้
การเปลี่ยนหัวจับดอกชนิดมีเฟืองใน
เมื่อใช้เครื่องมือที่ไม่มี
SDS-plus
ทํางาน
(
ต
.
ย
.
เช่น
ดอกสว่านที่มีก้านทรงกระบอก
)
ต้องประกอบหัวจับดอกที่
เหมาะสมเข้า
(
หัวจับดอกชนิดมีเฟืองในหรือไร้เฟ
ืองใน
อุปกรณ์ประกอบ
)
การประกอบหัวจับดอกชนิดมีเฟืองใน
(
ดูภาพประกอบ
C)
–
ขันก้านปรับ
SDS-plus
15
เข้าในหัวจับดอกชนิดมีเฟืองใน
14
ยึดหัวจับดอกชนิดมีเฟืองใน
14
ด้วยสกรูยึด
13
กรุณาสังเกตว่าสกรูยึดมีเกลียวหมุนทางซ้าย
การใส่หัวจับดอกชนิดมีเฟืองใน
(
ดูภาพประกอบ
D)
–
ทําความสะอาดปลายก้านปรับ
และเคลือบจาระบีบางๆ
–
จับหัวจับดอกชนิดมีเฟืองในพร้อมก้านปรับหมุนใส่ในด้ามจับ
ครื่องมือจนเข้าล็อคโดยอัตโนมัติ
–
ดึงหัวจับดอกชนิดมีเฟืองในเพื่อตรวจสอบการล็อค
การถอดหัวจับดอกชนิดมีเฟืองใน
–
ดันปลอกสําหรับล็อค
3
ไปด้านหลัง
และดึงหัวจับดอก
ชนิดมีเฟืองใน
14
ออก
การเปลี่ยนเครื่องมือ
ฝาครอบกันฝุ่น
2
สามารถป้องกันไม่ให้ฝุ่นที่เกิดจากการเจาะ
ลอดเข้าในหัวจับดอกขณะปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
เมื่อใส่
เครื่องมือ
ต้องระวังอย่าทําให้ฝาครอบกันฝุ่น
2
ชํารุด
ควรเปลี่ยนฝาครอบกันฝุ่นที่ชํารุดโดยทันที
เราขอ
แนะนําว่า
ควรส่งให้ศูนย์บริการหลังการขายเปลี่ยนให้
การใส่เครื่องมือเจาะ
SDS-plus (
ดูภาพประกอบ
E)
หัวจับดอก
SDS-plus
ทําให้ท่านสามารถเปลี่ยนเครื่องมือ
เจาะได้สะดวกง่ายดายโดยไม่ต้องใช้เครื่องมืออ
ื่นๆ
ช่วย
–
ทําความสะอาดและทาจารบีบางๆ
ที่ปลายก้านเครื่องมือ
–
จับเครื่องมือหมุนใส่ในหัวจับดอกจนเครื่องมือล็อคตัวเอง
–
ดึงเครื่องมือเพื่อตรวจสอบการล็อค
ตามเงื่อนไขของระบบทํางาน
เครื่องมือเจาะ
SDS-plus
สามารถเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระ
ด้วยเหตุนี้
เม
ื่อปล่อยให้วิ่ง
ตัวเปล่า
เครื่องมือจะวิ่งออกนอกรัศมีอยู่บ้าง
ซึ่งจะไม่มีผลต่อ
ความเที่ยงตรงของรูเจาะ
เพราะเมื่อเจาะรู
ดอกสว่านจะตั้งตัว
ให้อยู่ตรงกลางเอง
การถอดเครื่องมือเจาะ
SDS-plus (
ดูภาพประกอบ
F)
–
ดันปลอกสําหรับล็อค
3
ไปด้านหลัง
และเอาเครื่องมือออก
การใส่เครื่องมือเจาะที่ไม่มี
SDS-plus
หมายเหตุ
:
อย่าใช้เครื่องมือที่ไม่มี
SDS-plus
เพื่อเจาะตอก
!
เครื่องมือที่ไม่มี
SDS-plus
รวมทั้งหัวจับดอกของเคร
ื่องมือ
อาจชํารุดจากการเจาะตอก
–
ใส่หัวจับดอกชนิดมีเฟืองใน
14
(
ดู
"
การเปลี่ยนหัวจับดอกชนิดมีเฟืองใน
"
หน้า
28)
–
เปิดหัวจับดอกชนิดมีเฟืองใน
14
โดยการหมุนจนสามารถ
ใส่เครื่องมือได้
จับเครื่องมือใส่เข้าไป
–
ใส่ประแจหัวจับดอกเข้าในรูที
่ลงรอยกันของหัวจับดอกชนิด
มีเฟืองใน
14
และหนีบเครื่องมือเข้าเท่าๆ
กัน
–
สับสวิทช์
7
ไปที่สัญลักษณ์
"
การเจาะ
"
การถอดเครื่องมือเจาะที่ไม่มี
SDS-plus
–
หมุนปลอกของหัวจับดอกชนิดมีเฟืองใน
14
ด้วยประแจ
หัวจับดอกไปในทิศทวนเข็มนาฬิกาจนสามารถถอดเคร
ื่องมื
อเจาะออกมาได้
การดูดฝุ่นด้วยอุปกรณ์ดูดฝุ่น
(
อุปกรณ์ประกอบ
)
ฝุ่นที่ได้จากวัสดุ
เช่น
เคลือบผิวที่มีสารตะก
ั่ว
ไม้บางประเภท
แร่ธาตุ
และโลหะ
อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
การสัมผัส
หรือการหายใจเอาฝุ่นเข้าไปอาจทําให้เกิดปฏิกิร
ิยาแพ้ฝุ่น
และ
/
หรือนํามาซึ่งโรคติดเชื้อระบบหายใจแก่ผู้ใช
้เครื่อง
หรือผู้ที่ยืนอยู่ใกล้เคียง
ฝุ่นบางประเภท
เช่น
ฝุ่นไม้โอ๊ก
หรือไม้บีช
นับเป็นสารที่
ทําให้เกิดมะเร็ง
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อผสมกับสารเติมแต่ง
เพื่อบําบัดไม้
(
โครเมต
ผลิตภัณฑ์รักษาเนื้อไม้
)
สําหรับวัสดุ
ที่มีแอสเบสทอสต้องให้ผู้เชี่ยวชาญทํางานเท่าน
ั้น
–
ใช้ระบบดูดฝุ่นออกที่เหมาะสมกับประเภทวัสดุ
มาก
เท่าที่จะทําได้
–
จัดสถานที่ทํางานให้มีการระบายอากาศที่ดี
–
ขอแนะนําให้สวมหน้ากากป้องกันการติดเชื้อที่มี
ระดับ
-
ไส้กรอง
P2
ปฏิบัติตามกฎข้อบังคับสําคัญอื่นๆ
ที่เกี่ยวกับวัสดุชิ้นงาน
ที่บังคับใช้ในประเทศของท่าน
ป้องกันการสะสมของฝุ่นในสถานที่ทํางาน
ฝุ่นสามารถ
ลุกไหม้อย่างง่ายดาย
การประกอบอุปกรณ์ดูดฝุ่น
(
ดูภาพประกอบ
G)
สําหรับการดูดฝุ่นออก
ต้องใช้อุปกรณ์ดูดฝุ่น
(
อุปกรณ์
ประกอบ
)
ขณะเจาะรู
อุปกรณ์ดูดฝุ่นจะร่นกลับเพื่อให้
ส่วนหัวของอุปกรณ์ดูดฝุ่นอยู่ชิดกับพื้นผิวรูเจาะเสมอ
–
กดปุ่มปรับก้านวัดความลึก
8
และถอดก้านวัดความลึก
11
ออก
กดปุ่ม
8
อีกครั้งและใส่อุปกรณ์ดูดฝุ่นเข้าในด้ามจับ
เพิ่ม
10
จากด้านหน้า
–
ต่อท่อดูดฝุ่น
(
เส้นผ่าศูนย์กลาง
19
มม
.
อุปกรณ์ประกอบ
)
เข้ากับปลอกดูด
16
ของอุปกรณ์ดูดฝุ่น
OBJ_BUCH-452-006.book Page 28 Tuesday, October 18, 2016 3:43 PM