76
แรงดูดของกรวยปั๊มน�านมอาจยังไม่เพียงพอในช่วงแรกที่เริ่มทําการปั๊ม ให้พยายามปั๊มต่อเนื่องไป
เรื่อยๆก่อน เพื่อตรวจสอบว่าได้ทําตามขั้นตอนเหล่านี้ถูกต้องหรือไม่
ระดับความเบา-แรงในการปั๊มของแต่ละ
คนอาจแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสภาพ
ของเต้านมและสภาพของแต่ละบุคคล
เป็นสําคัญ จึงควรปรับใช้ในระดับที่คิดว่า
เหมาะกับการตัวเองที่สุด
การประกอบกรวยปั๊มน�านมถูก
ต้องหรือไม่
(ดูรายละเอียดได้ที่หน้า 68)
ระดับความเบา-แรงในการปั๊มของแต่ละ
คนอาจแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสภาพ
ของเต้านมและสภาพของแต่ละบุคคล
เป็นสําคัญจึงควรปรับใช้ในระดับที่คิดว่า
เหมาะกับการตัวเองที่สุด (ดูรายละเอียด
ได้ที่หน้า 70-71)
การประกอบชิ้นส่วนอุปกรณ์ถูกต้องหรือ
ไม่ (ดูรายละเอียดได้ที่หน้า 67-69)
หลังจากเปลี่ยนวาล์วแล้ว ให้
ทดสอบโดยเอากรวยปั๊มน�านม
ออกจากเต้านมแล้วนํามาทาบ
บนฝ่ามือไว้ประมาณ 5 วินาที
เพื่อดูว่ารู้สึกได้ถึงแรงดูดหรือไม่
การประกอบชิ้นส่วน
อุปกรณ์ทั้งหมดถูกต้อง
และครบถ้วนหรือไม่
(ดูรายละเอียดได้ที่หน้า
67-69)
ในกรณีที่ใช้ไฟจากอุปกรณ์
แบตเตอรี่สํารองแบบพกพา ให้
ตรวจสอบว่ายังมีไฟอยู่หรือไม่
ลองเปลี่ยนอุปกรณ์แบตเตอรี่สํารอง
แบบพกพาตัวอื่น หรือไม่ก็เปลี่ยนมาใช้ไฟ
บ้านโดยตรง
การประกอบชิ้นส่วนอุปกรณ์ทั้งหมดถูก
ต้องและครบถ้วนหรือไม่ (ดูรายละเอียด
ได้ที่หน้า 67-69)
วาล์วอาจชํารุดหรือฉีกขาด จนเป็นเหตุให้
ประสิทธิภาพในการปั๊มน�านมไม่ได้ตามที่
ต้องการ หากจําเป็นต้องเปลี่ยน ให้ติดต่อ
ฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ของพีเจ้นเพื่อการสั่งซื้อ
มอเตอร์ หรือชิ้นส่วนอุปกรณ์อื่นๆ หากมี
การทํางานที่ผิดปกติไปจากเดิม ให้ติดต่อ
สอบถามฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ของพีเจ้น
กรวยปั๊มน�านมครอบกระชับ
แนบสนิทกับเต้านมดีพอหรือไม่
(ดูรายละเอียดได้ที่หน้า 70)
กดกรวยปั๊มน�านมให้กระชับ แนบสนิทกับ
เต้านมให้มากที่สุด
(ดูรายละเอียดได้ที่หน้า 70)
หากแรงดูดยังไม่ดีพอ ให้
ทดสอบโดยเอากรวยปั๊ม
น�านมออกจากเต้านม
แล้วนํามาทาบบนฝ่ามือ
ไว้ประมาณ 5 วินาที เพื่อ
ดูว่ารู้สึกได้ถึงแรงดูด
หรือไม่
ไม่ใช่
ใช่
ใช่
ใช่
ใช่
ใช่
ไม่ใช่
ไม่ใช่
ไม่ใช่
ใช่
ใช่
ไม่ใช่
ไม่ใช่
ใช่
ในขณะที่ปั๊ม มีแรงดูด
เพียงพอที่จะกระตุ้นน�านม
หรือไม่ (หัวนมเคลื่อนไหว
อย่างต่อเนื่องหรือไม่)
การแก้ปัญหาเบื้องต้น
1.9