การปรับแต่งเครื่องมือไฟฟ้าก่อนใช้งาน
1. การปรับแต่งคลองเลื่อย
วิธีการปรับความลึกของการตัด ให้คลายคันล็อก (A) และจับฐาน
ด้วยมือข้างหนึ่งแล้วเลื่อนอุปกรณ์ขึ้นลงจนได้ความลึกที่ต้องการ แล้ว
จึงล็อกคันล็อก (A) ให้แน่น (
รูปที่ 2
)
ค�าเตือน
ถ้าคันง้าง (A) ยังหลวมอยู่ จะเกิดอันตรายมาก ให้ล็อกให้แน่น อยู่
เสมอ
2. การปรับแต่งมุมเอียง
เมื่อคลายคันง้าง (A) จะสามารถเอียงใบเลื่อยจากฐานได้จนถึง
45 องศา
อาจปรับแต่งมุมเอียงได้โดยคลายคันง้าง (A) (
รูปที่ 3
)
ค�าเตือน
ถ้าคันง้าง (A) ยังหลวมอยู่ จะเกิดอันตรายมาก ให้ล็อกให้แน่น อยู่
เสมอ
3. การปรับแต่งราง
อาจปรับแต่งต�าแหน่งตัดโดยเลื่อนรางไปทางซ้ายหรือทางขวาหลังจาก
คลายน็อตปีกผีเสื้อ
อาจติดตั้งรางไว้ทางด้านซ้ายหรือด้านขวาก็ได้ (
รูปที่ 4
)
ล�าดับการตัด
1. วางตัวเลื่อย (ฐาน) ไว้ที่ไม้ให้ตรงตามแนวที่จะใช้ใบมีดตัดให้ตรงกับ
รอยบากที่ด้านหน้าของฐาน
ต�าแหน่งของฐานกับไม้จะต้องอยู่ในต�าแหน่งนี้เสมอไม่ว่าฐานจะเอียง
เท่าใดก็ตาม (
รูปที่ 5
)
2. เปิดสวิทซ์ ON ก่อนใบเลื่อยแตะกับแท่งไม้ สวิทซ์จะเปิด ON เมื่อ
ใช้นิ้วกดกดสวิทซ์ และปิด OFF เมื่อปล่อยนิ้วจากสวิทซ์
3. การเลื่อนเลื่อยตรงๆ ด้วยความเร็วคงที่จะท�าให้สามารถตัดได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
ค�าเตือน
ก่อนจะตัด ให้ตรวจดูชิ้นงานที่จะตัดเสียก่อน ถ้าเนื้อไม้อาจเป็นอันตราย/
มีฝุ่นพิษ ให้เชื่อมต่อชุดดักฝุ่นหรือถุงดักฝุ่นกับช่องระบายฝุ่นที่เหมาะสมไว้
อย่างแน่นหนา สวมหน้ากากกันฝุ่น ถ้ามี
○
ก่อนจะใช้ตัดด้วยเลื่อยไฟฟ้า ตรวจดูให้มีรอบหมุนสูงสุดเสียก่อน
○
ถ้าใบเลื่อยหยุดหมุนหรือมีเสียงผิดปกติขณะท�างาน ปิดสวิทซ์ไปที่
OFF โดยทันที
○
ระวังอยู่เสมอ ไม่ให้สายไฟฟ้าเข้าไปใกล้ใบเลื่อยที่ก�าลังหมุน
○
การใช้เลื่อยวงเดือนที่ใบเลื่อยหันขึ้นหรือหันไปด้านข้างจะมีอันตราย
มาก ควรเลี่ยงการท�างานในท่าทางที่ไม่ปกติเช่นนั้น
○
เมื่อตัดวัสดุ ให้ใช้อุปกรณ์ป้องกันดวงตาเสมอ
○
เมื่อท�างานเสร็จแล้ว ให้ถอดปลั๊กออกจากเต้าเสียบ
การติดและถอดใบเลื่อย
ค�าเตือน
เพื่อเลี่ยงอุบัติเหตุร้ายแรง กดสวิทซ์ไปที่ต�าแหน่ง OFF และถอดจาก
แหล่งจ่ายไฟเสมอ
1. การถอดใบเลื่อย
(1) ตั้งระยะตัดที่สูงสุด และวางเลื่อยวงเดือนตาม
รูปที่ 6
(2) กดคันล็อก ล็อกเพลา และถอดครีบหกเหลี่ยมออกโดยใช้ประแจ
(3) ถอดใบเลื่อยออกเมื่อกดแผ่นครอบล่างลงให้ร่นเข้าในฝาใบเลื่อยจนเต็ม
ที่
2. การติดตั้งใบเลื่อย
(1) เอาขี้เลื่อยที่ตกค้างบนเพลา สกรูและแหวนรองออกไป
(2) ตาม
รูปที่ 7
เล็งศูนย์ด้านข้างของแหวนรอง (A) ที่มีขนาดเดียวกับ
เส้นผ่านศูนย์กลางให้เข้าภายในของใบเลื่อย และทาบด้านเว้าของ
แหวนรอง (B) เข้ากับด้านข้างของใบเลื่อย
* แหวนรอง (A) มีมาให้กับใบเลื่อย 3 แบบที่มีขนาดรู 16 มม.
20 มม. และ 30 มม. (เมื่อซื้อเลื่อยวงเดือน จะได้รับแหวน
รอง (A) แบบเดียวเท่านั้น)
ถ้าขนาดรูของใบเลื่อยไม่ตรงกับขนาดของแหวนรอง (A) โปรด
แจ้งร้านที่คุณซื้อเลื่อยวงเดือน
(3) เพื่อให้ใบเลื่อยหมุนในทิศทางที่ถูกต้อง ทิศทางของลูกศรบนใบเลื่อย
ต้องตรงกับทิศทางของลูกศรบนฝาครอบใบเลื่อย
(4) ใช้นิ้วดันครีบหกเหลี่ยมเพื่อยึดใบเลื่อยให้มากที่สุด กดคันล็อกลง ล็อก
เพลา และขันสลักเกลียวให้แน่น
ค�าเตือน
เมื่อติดใบเลื่อยแล้ว ตรวจดูอีกครั้งให้คันล็อกกลับเข้าที่เดิม
การบ�ารุงรักษาและการตรวจสอบ
1. การตรวจสอบใบเลื่อย
เนื่องจากการใช้ใบเลื่อยที่ทื่อจะลดประสิทธิภาพงานและมอเตอร์อาจ
ท�างานผิดปกติได้ ให้ลับหรือเปลี่ยนใบเลื่อยทันทีเมื่อพบว่าทื่อ
2. การตรวจสอบสกรูยึด
ให้ตรวจสอบสกรูยึดเสมอ และให้ขันไว้อย่างถูกต้อง ถ้าสกรูหลวม
ให้ขันเสียใหม่โดยทันที มิฉะนั้นอาจเกิดอันตรายมาก
3. การตรวจสอบแปรงคาร์บอน (รูปที่
8)
มอเตอร์จะมีแปรงคาร์บอนซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ใช้แล้วหมดไป เนื่องจาก
การใช้งานแปรงคาร์บอนที่เก่าเกินไปอาจส่งผลเสียต่อมอเตอร์ได้ จึง
ควรเปลี่ยนแปรงคาร์บอนที่มีหมายเลขตรงกับที่แสดงไว้ในตารางเมื่อ
แปรงคาร์บอนเก่า หรือบางจนเกือบถึง “ขีดจ�ากัด” นอกจากนี้ โปรด
รักษาความสะอาดของแปรงคาร์บอนและตรวจสอบให้อุปกรณ์ดังกล่าว
เคลื่อนที่ได้อย่างอิสระด้วย
4. การเปลี่ยนแปรงคาร์บอน (รูปที่
9)
ถอดฝาครอบแปรงด้วยไขควงหัวบ็อกซ์เพื่อดึงแปรงคาร์บอนออกมาได้
อย่างง่ายดาย
5. การบ�ารุงรักษามอเตอร์
การขดลวดของมอเตอร์เป็นหัวใจส�าคัญของเครื่องมือไฟฟ้า ให้ใช้
ความระมัดระวังเพื่อไม่ให้ขดลวดของมอเตอร์ช�ารุดและ/หรือเปียกน�้า
หรือน�้ามัน
6. การปรับแต่งฐานและใบเลื่อยเพื่อรักษามุมฉาก (เฉพาะฐานแบบ
อะลูมิเนียม)
มุมระหว่างฐานกับใบเลื่อยอยู่ในต�าแหน่ง 90 องศา หากมุมฉาก
เปลี่ยนไปเนื่องจากสาเหตุใดๆ ให้ปรับแต่งดังต่อไปนี้
15
ไทย
Summary of Contents for C 7ST
Page 2: ...1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 2 43 6 mm 17 mm 0 45 ...
Page 22: ...22 ...
Page 23: ...23 ...