ภาษาไทย
|
103
1 609 929 T52 • 21.1.09
การปฏิบัติงาน
f
หลีกเลี่ยงอย่าให้เครื่องมือวัดตกหล่นหรือถูกกระทบ
อย่างแรง
เมื่อเครื่องมือวัดถูกกระทบจากภายนอกอย่างแรง
ขอ
แนะนำให้ทำการตรวจสอบความแม่นยำทุกครั้งก่อนนำมา
ใช้งานต่อ
(
ดู
"
การตรวจสอบแนวเล็ง
(
ดูภาพประกอบ
K–L)")
การจัดวางและการปรับพื้นฐาน
หมายเหตุ
:
ก่อนใช้งานครั้งแรก
ให้ตรวจสอบระดับตามคำแนะนำ
ในบท
"
การตรวจสอบแนวเล็ง
(
ดูภาพประกอบ
K–L)"
จัดวางขาตั้งกล้องและยึดกล้องระดับโดยใช้สกรูประกอบขาตั้ง
ปรับขาตั้งกล้องจนหัวของขาตั้งพอจะอยู่ในแนวระดับ
จากนั้นจึงปรับ
ระดับด้วยสกรูปรับระดับ
11
ทำให้ฟองน้ำในหลอด
13
อยู่ในแหวนกลาง
หมุนสกรูปรับระดับ
(A
และ
B)
11
เพื่อเลื่อนฟองน้ำให้อยู่ในตำแหน่ง
ระหว่าง
A
และ
B (
ดูภาพประกอบ
A)
จากนั้นหมุนสกรูปรับระดับ
(C)
11
เพื่อให้ฟองน้ำอยู่ที่ศูนย์กลาง
(
ดูภาพประกอบ
B)
การปรับโฟกัส
หมุนกล้องระดับอัตโนมัติให้ส่องไปยังพื้นหลังที่สว่าง
หรือถือกระดาษ
สีขาวอยู่หน้าเลนส์ใกล้วัตถุ
9
หมุนเลนส์ใกล้ตา
5
จนเห็นเส้นสายใย
ได้ชัดเจนและแจ่มใส
(
ดูภาพประกอบ
C)
กำหนดตำแหน่งไม้วัดระดับโดยใช้ช่องมองเล็ง
8
และหมุนปุ่มปรับ
โฟกัส
6
จนเห็นขีดส่วนแบ่งได้ชัดเจน
(
ดูภาพประกอบ
D)
การอ่านไม้วัดระดับ
หมายเหตุ
:
หลังเสร็จงานทุกครั้ง
ขอแนะนำให้ตรวจสอบผล
การวัด
โดยทดลองวัดสองสามครั้งจากตำแหน่งการตั้งกล้องอื่นๆ
ที่อยู่
ห่างจากตำแหน่งการตั้งครั้งแรกประมาณ
15
ม
.
ส่องกล้องไปยังจุดที่วัดไปก่อนหน้านี้หลายๆ
จุด
ค่าที่อ่านได้ใหม่ควร
สอดคล้องกับค่าแรก
ถ้าค่าที่ได้ไม่สอดคล้องกัน
ลองตรวจสอบกล้องระดับอัตโนมัติอีกครั้ง
หนึ่งตามคำแนะนำในบท
"
การตรวจสอบแนวเล็ง
(
ดูภาพประกอบ
K–L)"
ปรับเส้นสายใยอีกครั้งหนึ่ง
(
ดูหัวข้อ
"
การเทียบมาตรฐานเส้นสายใย
(
ดูภาพประกอบ
M)")
หรือติดต่อศูนย์
บริการลูกค้าที่ได้รับมอบหมายสำหรับเครื่องมือไฟฟ้า
บ๊อช
การอ่านค่าความสูง
อ่านค่าความสูงที่เส้นเป้าหมาย
ตัวอย่าง
เช่น
ความสูงในภาพ
ประกอบ
E
คือ
1,195
ม
.
การวัดระยะทาง
อ่านค่าความสูงที่เส้นสเตเดียบนและล่าง
ระมัดระวังให้ไม้วัดระดับ
อยู่ในแนวดิ่ง
ตัวอย่าง
เช่น
ภาพประกอบ
E
แสดง
1,352
ม
.
และ
1,038
ม
.
เมื่อนำผลต่างมาคูณด้วย
100
จะได้ค่าระยะห่าง
"
เครื่อง
-
ไม้วัดระดับ
" (1,352
ม
.
–
1,038
ม
.) x 100 = 31,41
ม
.
การวัดมุม
(
ดูภาพประกอบ
F)
ส่องกล้องไปที่จุด
A
ด้วยเส้นสายใย
และตั้งสเกลวงกลม
แนวราบ
2
ไว้ที่
0
ที่ขีดอ้างอิง
3
หลังจากนั้นส่องกล้องไปที่จุด
B
และอ่านค่ามุมที่วัดได้ที่ขีดอ้างอิง
3
การเทียบมาตรฐาน
หมายเหตุ
:
กล้องระดับอัตโนมัติผ่านการเทียบมาตรฐานมาจาก
โรงงานผลิต
และได้รับการตรวจสอบอย่างถี่ถ้วนก่อนจัดส่ง
ถึงกระนั้น
เราขอแนะนำให้ทำการตรวจสอบการเทียบมาตรฐานของหลอดระดับ
น้ำฟองกลม
13
และเส้นสายใยเป็นครั้งคราว
ระบบชดเชย
/
ล็อคระบบชดเชย
ก่อนใช้งาน
ให้ตรวจสอบระบบชดเชยว่า
สามารถทำงานได้อย่าง
ถูกต้องหรือไม่
กดและปล่อยนิ้วจากปุ่มล็อคระบบชดเชย
4
เพื่อสั่น
ระบบชดเชย
เมื่อระบบชดเชยหยุด
ให้จดความสูง
ทำซ้ำกระบวนการ
และอ่านค่า
อีกครั้งหนึ่ง
ค่าความสูงทั้งสองควรสอดคล้องกันอย่างพอดิบพอดี
การปรับฟองน้ำ
(
ดูภาพประกอบ
G
–
J)
ปรับฟองน้ำในหลอด
13
ให้อยู่ที่ศูนย์กลางด้วยสกรูปรับระดับ
11
จากนั้นจึงหมุนกล้องระดับอัตโนมัติไป
180
°
ฟองน้ำ
13
ควรอยู่ที่
ศูนย์กลางเหมือนเดิม
ถ้าไม่อยู่ที่ศูนย์กลาง
ต้องปรับหลอดฟองน้ำ
หมุนสกรูปรับระดับ
11
และเลื่อนฟองน้ำไปครึ่งทางยังศูนย์กลาง
หมุน
สกรูปรับระดับ
14
ทั้งสองตัวจนฟองน้ำอยู่ที่ศูนย์กลาง
หมุนกล้องระดับอัตโนมัติไป
180
°
เมื่อได้ทำการแก้ไขอย่างแม่นยำ
แล้ว
ฟองน้ำจะอยู่ที่ศูนย์กลาง
ถ้าไม่อยู่ที่ศูนย์กลาง
ให้ทำซ้ำ
กระบวนการทั้งหมด
การตรวจสอบแนวเล็ง
(
ดูภาพประกอบ
K–L)
เลือกจุดตรึง
2
จุด
คือ
A
และ
B
ซึ่งอยู่ห่างกันประมาณ
– 30
–
50
ม
.
และจัดวางไม้วัดระดับอย่างเหมาะสม
วางกล้องระดับอัตโนมัติไว้
ระหว่างกลางของจุดทั้งสอง
แล้วทำการเทียบมาตรฐานเบื้องต้น
อ่าน
ความสูงจากไม้วัดระดับทั้งสอง
ความสูงที่ไม้
A
คือ
a1
และ
b1
ที่
ไม้
B
ผลต่าง
(a1
–
b1)
เป็นค่าของ
H
เคลื่อนย้ายกล้องระดับอัตโนมัติไปยังตำแหน่งใหม่ห่างจาก
ไม้
A
ประมาณ
1
–
2
ม
.
ปรับฟองน้ำในหลอดให้อยู่ที่ศูนย์กลางอีก
ครั้งหนึ่ง
และอ่านความสูงที่ไม้
A
และ
B
ค่าที่อ่านได้คือ
a2
และ
b2
เมื่อค่า
a1
–
b1 = a2
–
b2 = H
สอดคล้องกัน
(
ความแตกต่าง
สูงสุด
3
มม
.)
ถือว่าการเทียบมาตรฐานเส้นสายใยถูกต้องแล้ว
และ
แนวเล็งอยู่ในแนวราบ
ถ้าไม่เป็นเช่นนี้
ต้องปรับใหม่อีกครั้งหนึ่ง
OBJ_BUCH-928-001.book Page 103 Wednesday, January 21, 2009 1:21 PM