42
|
ภาษาไทย
2 609 140 591 | (24.10.08)
Bosch Power Tools
เริ่มต้นปฏิบัติงาน
การใส่แบตเตอรี่
f
ใช้เฉพาะแบตเตอรี่ลิเธียม
ไอออน
ของแท้ของ
บ๊อช
ที่มี
แรงดันไฟฟ้าตามที่ระบุไว้บนแผ่นป้ายพิกัดของเครื่องมือ
ไฟฟ้าของท่านเท่านั้น
การใช้แบตเตอรี่ประเภทอื่นอาจทำให้
ได้รับบาดเจ็บและเสี่ยงต่อการเกิดไฟไหม้
ตั้งสวิทช์เปลี่ยนทิศทางการหมุน
7
ไว้ที่ตำแหน่งกลางเพื่อป้องกัน
ไม่ให้เครื่องมือไฟฟ้าสตาร์ทขึ้นโดยไม่ตั้งใจ
ดันแบตเตอรี่ที่ชาร์จแล้ว
5
จากด้านหน้าเข้าในฐานของเครื่องมือ
ไฟฟ้าจนแบตเตอรี่เข้าล็อคอย่างมั่นคง
การกลับทิศทางการหมุน
(
ดูภาพประกอบ
B)
สวิทช์เปลี่ยนทิศทางการหมุน
7
ใช้สำหรับกลับทิศทางการหมุน
ของเครื่อง
อย่างไรก็ดี
หากกดสวิทช์เปิด
-
ปิด
8
อยู่
จะกลับทิศทาง
การหมุนไม่ได้
การหมุนทางขวา
:
สำหรับการขันสกรูเข้าและขันน๊อตให้แน่น
ให้กด
สวิทช์เปลี่ยนทิศทางการหมุน
7
ไปทางซ้ายจนสุด
การหมุนทางซ้าย
:
สำหรับการคลายและขันสกรูและน๊อตออก
ให้กดสวิทช์เปลี่ยนทิศทางการหมุน
7
ไปทางขวาจนสุด
การเปิด
-
ปิดเครื่อง
เปิดเครื่อง
ทำงานโดยกดสวิทช์เปิด
-
ปิด
8
และกดค้างไว้
หลอดไฟ
9
จะติดขึ้นเมื่อกดสวิทช์เปิด
-
ปิด
8
เข้าเพียงเล็กน้อยหรือ
กดจนมิด
และบริเวณทำงานจะส่องสว่างเมื่อตรงนั้นมีสภาพแสง
ที่ไม่ดี
ปิดเครื่องโดย
ปล่อยนิ้ว
จากสวิทช์เปิด
-
ปิด
8
การปรับความเร็วรอบ
ความเร็วรอบของเครื่องมือไฟฟ้าที่เปิดทำงานสามารถปรับเปลี่ยนได้
ตามแรงกดมากน้อยบนสวิทช์เปิด
-
ปิด
8
การกดสวิทช์เปิด
-
ปิด
8
เบาจะได้ความเร็วรอบต่ำ
การกดสวิทช์แรง
ยิ่งขึ้นจะได้ความเร็วรอบสูงขึ้น
ข้อแนะนำในการทำงาน
f
จับเครื่องมือไฟฟ้าเข้าบนหัวสกรู
/
น๊อตเมื่อเครื่องปิดอยู่
เท่านั้น
เครื่องมือที่หมุนอยู่อาจลื่นไถล
แรงบิดขึ้นอยู่กับระยะเวลากระแทก
แรงบิดสูงสุดที่ได้เป็นผลจาก
ยอดรวมของแต่ละแรงบิดที่ได้จากการกระแทก
จะได้แรงบิดสูงสุด
หลังจากกระแทกไปได้
6–10
วินาที
หลังช่วงเวลานี้
แรงบิดจะ
เพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
ต้องกำหนดระยะเวลากระแทกสำหรับทุกๆ
แรงบิดที่ต้องการ
ตรวจสอบแรงบิดที่ได้จริงด้วยประแจกระบอกที่มีเครื่องวัดแรงบิด
เสมอ
การขันสกรูแบบแข็ง
แบบยืดหยุ่น
หรือแบบนุ่ม
ในการทดสอบ
แรงบิดที่ได้จากการกระแทกเป็นลำดับติดต่อกัน
จะถูกวัดและโอนเข้าแผนภาพ
ซึ่งจะแสดงผลเป็นเส้นโค้งของ
ลักษณะเฉพาะของแรงบิด
ระดับความสูงของเส้นโค้งคือ
แรงบิดสูงสุดที่ไปถึงได้
และระดับความชันแสดงระยะเวลาที่
ไปถึงแรงบิดสูงสุด
ความลาดของแรงบิดขึ้นอยู่กับปัยจัยต่อไปนี้
:
–
คุณสมบัติความแข็งของสกรู
/
น๊อต
–
ชนิดของตัวเสริม
(
ประเก็นวงแหวน
สปริงแผ่น
แผ่นซีล
)
–
คุณสมบัติความแข็งของวัสดุที่จะขันสกรู
/
โบล์ทเข้าไป
–
สภาพการหล่อลื่นน้ำมันตรงรอยต่อระหว่างสกรู
/
โบล์ทและวัสดุ
ที่ขันเข้าไป
เนื่องด้วยปัจจัยดังกล่าวข้างต้น
จึงมีการขันแบบต่างๆ
กันต่อไปนี้
:
–
การขันแบบแข็ง
เกิดขึ้นในกรณีที่โลหะอยู่บนโลหะและใช้
ประเก็นวงแหวน
หลังใช้เวลากระแทกช่วงสั้นๆ
ก็จะได้แรงบิด
สูงสุด
(
เส้นโค้งมีลักษณะลาดชัน
)
การกระแทกเป็นเวลานานโดย
ไม่จำเป็นจะทำให้เครื่องชำรุดเสียหายเท่านั้น
–
การขันแบบยืดหยุ่น
เกิดขึ้นในกรณีที่โลหะอยู่บนโลหะ
หากแต่
ใช้วงแหวนสปริง
สปริงแผ่น
ตะปูหัวใหญ่หรือสกรู
/
น๊อตที่มีก้น
รูปกรวย
และเมื่อใช้ส่วนประกอบเพิ่มเติม
–
การขันแบบนุ่ม
เกิดขึ้นในกรณีที่ขันสกรู
ต
.
ย
.
เช่น
โลหะอยู่บน
ไม้
หรือเมื่อใช้ประเก็นวงแหวนตะกั่ว
หรือประเก็นวงแหวนไฟเบอร์เป็นตัวเสริม
แรงบิดสูงสุดของการขันแบบยืดหยุ่นและแบบนุ่มจะต่ำกว่าแรงบิด
ขันแน่นสูงสุดของการขันแบบแข็ง
และยังต้องการระยะเวลากระแทก
ที่ยาวนานกว่าอย่างเห็นได้ชัดอีกด้วย
OBJ_BUCH-839-001.book Page 42 Friday, October 24, 2008 11:13 AM