214
th
สวมอุปกรณปองกันเฉพาะตัว
สุดแลวแตกรณีใหใชกระบัง
ปองกันหนา
สวมแวนตากันลมและฝุน
หรือ
แวนตาปองกัน
อันตราย
สุดแลวแตความเหมาะสมใหสวมหนากากกันฝุน
สวมประกบหูปองกันเสียงดัง
สวมถุงมือ
และสวมผากันเปอน
พิเศษที่สามารถกันผงขัดหรือเศษชิ้นงานออกจากต
ัวทานได
แวนปองกันตาตองสามารถหยุดเศษผงที่ปลิววอนที่เกิดจาก
การปฏิบัติงานแบบตางๆ
ได
การไดยินเสียงดังมากเปนเวลา
นานอาจทําใหทานสูญเสียการไดยิน
กันบุคคลที่อยูใกลเคียงใหอยูในระยะปลอดภัยหางจากบริเวณ
ทํางาน
บุคคลใดที่เขามายังบริเวณทํางานตองสวมอ
ุปกรณ
ปองกันเฉพาะตัว
เศษวัสดุชิ้นงานหรืออุปกรณประกอบที่
แตกหักอาจปลิวออกนอกจุดปฏิบัติงานและทําใหบาดเจ็บได
เมื่อทํางานในบริเวณที่อุปกรณตัดอาจสัมผัสกับสายไฟฟาที่
ซอนอยูหรือสายไฟฟาของเครื่อง
ตองจับเครื่องมือไฟฟาตรง
ดามจับที่หุมฉนวนเทานั้น
หากอุปกรณตัดสัมผัสกับสายที่มี
กระแสไฟฟาไหลผานจะทําใหสวนที่เปนโลหะของเครื่องมือ
ไฟฟาเกิดมีกระแสไฟฟาดวย
และสงผลใหผูใชเครื่องถูกไฟฟา
กระตุกได
จับสายไฟฟาออกจากอุปกรณประกอบที่กําลังหมุน
หากทาน
ควบคุมเครื่องมือไฟฟาไมอยู
เครื่องอาจตัดสายไฟฟาหรือสาย
ไฟฟาถูกดึงรั้งไว
และมือหรือแขนของทานอาจถูกกระชาก
เขาหาอุปกรณประกอบที่กําลังหมุน
อยาวางเครื่องมือไฟฟาลงบนพื้นจนกวาอุปกรณประกอบจะ
หยุดหมุนและนิ่งอยูกับที่แลว
อุปกรณประกอบที่หมุนอยูอาจ
เฉี่ยวถูกพื้นและกระชากเครื่องมือไฟฟาออกจากการควบคุม
ของทาน
อยาเปดเครื่องมือไฟฟาทํางานขณะถือเครื่องไว
ขางตัว
เสื้อผา
ของทานอาจเกี่ยวพันกับอุปกรณประกอบที่กําลังหมุนโดยไม
ตั้งใจ
และฉุดอุปกรณประกอบเขาหารางกายของทานได
ทําความสะอาดชองระบายอากาศของเครื่องมือไฟฟาอยาง
สม่ําเสมอ
พัดลมของมอเตอรจะดูดผงฝุนเขาในหมอครอบ
และผงโลหะที่พอกสะสมกันมากๆ
อาจทําใหเกิดอันตรายจาก
ไฟฟาได
อยาใชเครื่องมือไฟฟาทํางานใกลวัตถุติดไฟได
ประกายไฟ
สามารถจุดวัตถุเหลานี้ใหลุกเปนไฟ
อยาใชอุปกรณประกอบที่ตองใชสารหลอเย็นที
เปนของเหลว
การใชน้ําหรือสารหลอเย็นอื่นๆ
ที่เปนของเหลว
อาจทําให
กระแสไฟฟาวิ่งผานเขาตัวจนเสียชีวิตหรือถูกไฟฟากระตุกได
การตีกลับและคําเตือนเกี่ยวเนื่อง
การตีกลับคือแรงสะทอนกะทันหันที่เกิดจากจานข
ัด
แผนหนุน
แปรง
และอุปกรณประกอบอื่นใดเกิดบิดหรือ
ถูกเหนี่ยวรั้งขณะกําลังหมุน
การบิดหรือการเหนี
ยวรั้ง
ทําใหอุปกรณประกอบที่กําลัง
หมุนหยุดกะทันหัน
ดวยเหตุนี้
เครื่องมือไฟฟาที่ขาดการควบคุม
จึงถูกผลักไปในทิศทาง
ตรงกันขามกับการหมุนของอุปกรณ
ประกอบ
ณ
จุดที
เกิดการติดขัด
ตัวอยาง
เชน
หากจานขัดถูกเหนี่ยวรั้งหรือบิดโดยชิ้นงาน
ขอบ
ของจานขัดที่จิ้มอยูในจุดบิดอาจขูดเขาในพื้นผิวของชิ้นงาน
ทําใหจานขัดปนออกมาหรือตีกลับ
จานขัดอาจกระโดดเขาหา
หรือกระโดดออกจากผูใชเครื่อง
ทั้งนี้ขึ้นอยู
กับทิศทาง
เคลื่อนที่ของจานขัด
ณ
จุดบิด
ในสถานการณเชนน
ี้
จานขัดอาจแตกหักไดดวย
การตีกลับเปนผลจากการใชเครื่องมือไฟฟาในทางที่ผิด
/
หรือมี
กระบวนการหรือเงื่อนไขการทํางานที่ไมถูกตอง
และสามารถ
หลีกเลี่ยงได
ดวยการปองกันไวกอนอยางถูกต
อง
ดังคําแนะนํา
ดานลางนี้
จับเครื่องมือไฟฟาใหแนน
และตั้งตัวและแขนในตําแหนง
ตานรับแรงตีกลับ
หากมีดามจับเพิ่ม
ตองใชดามจับเพิ่ม
รวมดวยเสมอ
เพื่อควบคุมการตีกลับหรือกําลังสะทอนจาก
แรงบิดขณะสตารทเครื่องใหไดดีที่สุด
ผูใชเครื่องสามารถ
ควบคุมกําลังสะทอนจากแรงบิดหรือการตีกลับ
หากได
ระมัดระวังอยางถูกตองไวกอน
อยายื่นมือเขาใกลอุปกรณประกอบที่กําลังหมุน
อุปกรณ
ประกอบอาจตีกลับมาที่มือของทานได
อยาใหรางกายของทานอยูในบริเวณที่เครื่องมือไฟฟาจะเคลื่อ
นเขาหาหากมีการตีกลับ
การตีกลับจะผลักเครื่องมือไฟฟา
ไปยังทิศทางตรงกันขามกับการเคลื่อนที่ของจานขัด
ณ
จุด
เหนี่ยวรั้ง
ใชความระมัดระวังเปนพิเศษเมื่อใชเครื่องทํางานบริเวณมุม
ขอบแหลมคม
ฯลฯ
หลีกเลี่ยงไมใหอุปกรณประกอบกระแทก
และเหนี่ยวรั้งกับชิ้นงาน
มุม
ขอบแหลมคม
และการกระแทก
มักจะเหนี่ยวรั้งอุปกรณประกอบที่กําลังหมุน
และทําใหขาด
การควบคุมหรือทําใหเกิดการตีกลับ
อยาประกอบใบเลื่อยโซสําหรับเซาะไมหรือเลื่อยมีฟน
ใบเลื่อย
เหลานี้ทําใหเกิดการตีกลับและสูญเสียการควบค
ุมบอยครั้ง
Summary of Contents for 7 222 80 60 00 0
Page 1: ...CG13 125V 7 222 CG17 125 7 222 CG17 125INOX 7 222 CG17 150 7 222 ...
Page 3: ...3 6 5 10 11 9 8 4 7 4 9 ...
Page 4: ...4 2 1 2 3 1 ...
Page 5: ...5 1 3 4 2 2 4 3 1 ...
Page 6: ...6 2 1 ...
Page 7: ...7 1 2 ...
Page 8: ...8 2 1 2 1 1 1 3 1 ...
Page 10: ...10 1 1 1 0 mm 1 3 3 3 2 2 3 ...
Page 11: ...11 ...
Page 12: ...12 B 1 1 1 3 1 4 1 A 1 2 1 4 1 ...
Page 13: ...13 3 2 3 3 4 2 5 1 ...