39
ภาษาไทย
•
ใช้ตัวจับชิ้นงานหรือวิธีอื่นๆ
ที่ได้ผลเพื่อยึด
และหนุนชิ้นงานบนแท่นที่มั่นคง
การใช้มือจับ
หรือให้ชิ้นงานพิงกับล�าตัวจะไม่มั่นคงและอาจท�า
ให้สูญเสียการควบคุมได้
•
อย่าให้มอเตอร์ท�างานในเวลาที่ไม่ได้เสียบฐาน
เครื่องเด็ดขาด
มอเตอร์ไม่ได้ออกแบบมาให้ท�างาน
แบบใช้มือจับ
•
ใช้ดอกเซาะตรง
ดอกเซาะร่องบาก
ดอกเซาะด้านข้าง
ดอกเซาะร่อง
หรือใบมีดแบบมีร่องที่มีเส้นผ่าศูนย์-
กลางของก้าน
6
มม(1/4"). ซึ่งตรงกับขนาดของ
หัวจับดอกในเครื่องมือทุกครั้ง
•
ใช้ดอกเซาะที่เหมาะกับความเร็วรอบ
30,000
รอบ
ต่อนาที
และที่มีการระบุไว้เช่นนั้น
ค�าเตือน:
ห้ามใช้ดอกเซาะที่มีเส้นผ่าศูนย์-
กลางเกินกว่าขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางสูงสุดที่
ระบุในข้อมูลด้านเทคนิคเด็ดขาด
•
ส�าหรับดอกเซาะตรง
ดอกเซาะร่องบาก
ดอกเซาะ
ด้านข้าง
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางสูงสุดของก้านต้อง
ไม่เกิน
8
มม. ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางสูงสุดต้องไม่
เกิน
36
มม. ความลึกของการเซาะร่องสูงสุดของ
ดอกต้องไม่เกิน
10
มม.
•
ส�าหรับดอกเซาะร่อง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางสูงสุด
ของก้านต้องไม่เกิน
6
มม(1/4"). และขนาดเส้นผ่า
ศูนย์-กลางสูงสุดของดอกต้องไม่เกิน
25.4
มม.
•
ส�าหรับใบมีดแบบมีร่อง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางสูงสุด
ของก้านต้องไม่เกิน
6
มม(1/4"). ขนาดเส้นผ่า
ศูนย์กลางสูงสุดของใบมีดต้องไม่เกิน
25.4
มม.
และความกว้างของการเซาะร่องสูงสุดต้องไม่เกิน
4
มม.
ความเสี่ยงอื่นๆ ที่ยังมีอยู่
แม้จะปฏิบัติตามข้อก�าหนดด้านความปลอดภัยที่เกี่ยว
ข้องและใช้อุปกรณ์นิรภัยแล้วก็ตาม
แต่ก็ไม่สามารถหลีก
เลี่ยงความเสี่ยงบางอย่างได้
ความเสี่ยงเหล่านั้นได้แก่
:
–
ความบกพร่องในการได้ยินเสียง
–
ความเสี่ยงที่จะได้รับบาดเจ็บจากเศษชิ้นงานที่ปลิว
–
ความเสี่ยงที่จะเกิดรอยไหม้เนื่องจากอุปกรณ์เสริม
ที่ร้อนขึ้นในระหว่างใช้งาน
ค
)
ถอดปลั๊กของเครื่องมือไฟฟ้าออกจากแหล่ง
จ่ายไฟ และ/หรือ แบตเตอรี่ก่อนท�าการปรับ
แต่ง
เปลี่ยนอุปกรณ์เสริม
หรือจัดเก็บ
มาตรการเพื่อความปลอดภัยเชิงป้องกันนี้จะช่วย
ลดความเสี่ยงในการเผลอเปิดเครื่องให้ท�างาน
โดยไม่ตั้งใจ
ง
)
เก็บเครื่องมือไฟฟ้าที่ไม่ได้ใช้งานไว้ให้พ้นมือ
เด็ก และไม่อนุญาตให้บุคคลที่ไม่คุ้นเคยกับ
เครื่องมือไฟฟ้าหรือข้อปฏิบัติเหล่านี้เป็นผู้ใช้
เครื่องมือ
เครื่องมือไฟฟ้าจะเป็นอันตรายหาก
อยู่ในมือผู้ใช้ที่ไม่มีความช�านาญ
จ
)
บ�ารุงรักษาเครื่องมือไฟฟ้า
ตรวจสอบว่า
ชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ได้มีการวางไม่ตรงแนวหรือ
ติดขัดหรือไม่
มีชิ้นส่วนที่แตกหัก
และสภาพ
อื่นใดที่อาจส่งผลต่อการท�างานของเครื่องมือ
ไฟฟ้าหรือไม่
หากช�ารุดเสียหาย
ให้น�าเครื่องมือ
ไปส่งซ่อมก่อนน�ามาใช้
อุบัติเหตุจ�านวนมาก
เกิดจากการดูแลรักษาเครื่องมือไฟฟ้าไม่ดีพอ
ฉ
)
เครื่องมือตัดต้องคมและสะอาดอยู่เสมอ
เครื่องมือตัดที่ได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้อง
และมีขอบตัดคม
จะมีปัญหาติดขัดน้อย
และ
ควบคุมได้ง่ายกว่า
ช
)
ใช้เครื่องมือไฟฟ้า อุปกรณ์เสริม และดอกสว่าน
หรือใบมีดของเครื่องมือ เป็นต้น
ให้ตรงตาม
ข้อปฏิบัติเหล่านี้
โดยพิจารณาถึงสภาพการ
ท�างานและงานที่ท�าเป็นส�าคัญ
การใช้เครื่องมือ
ไฟฟ้าท�างานอื่นนอกเหนือจากที่ก�าหนดไว้อาจท�า
ให้เกิดอันตรายได้
5)
การบริการ
ก
)
ให้ช่างซ่อมที่มีความเชี่ยวชาญเป็นผู้ซ่อม
เครื่องมือ
และใช้อะไหล่แท้เท่านั้น
ซึ่งจะ
ช่วยรับประกันได้ว่าเครื่องมือไฟฟ้ายังมีความ
ปลอดภัยอยู่
กฎความปลอดภัยเพิ่มเติม
ส�าหรับเครื่องเซาะร่อง
•
จับเครื่องมือไฟฟ้าในบริเวณที่มีฉนวนป้องกัน
เพราะดอกเซาะร่องอาจสัมผัสกับสายไฟของ
ตัวเครื่องเอง
การตัดถูกสายไฟที่
“มีไฟฟ้า” อาจ
ท�าให้ส่วนที่เป็นโลหะที่ถูกสัมผัสของเครื่องมือไฟฟ้า
“มีไฟฟ้า” และท�าให้ผู้ใช้เครื่องถูกไฟดูดได้
Summary of Contents for DWE6000
Page 1: ...DWE6000 ...
Page 3: ...1 Figure 1 f a c d g i u h j b i m m q n e t r p o j l s w v x ...
Page 4: ...2 Figure 2 Figure 3 Figure 5 Figure 4 a d c o n o c e f i ...
Page 5: ...3 Figure 6 Figure 7 Figure 8 w v x ...
Page 54: ......
Page 55: ......
Page 56: ...N424957 12 2014 ...