40
|
ภาษาไทย
1 619 P09 069 | (12.10.10)
Bosch Power Tools
การถอดเครื่องมือเจาะ
SDS-plus (
ดูภาพประกอบ
E)
–
ดันปลอกสำหรับล็อค
3
ไปด้านหลัง
และเอาเครื่องมือออก
การใส่เครื่องมือเจาะที่ไม่มี
SDS-plus
หมายเหตุ
:
อย่าใช้เครื่องมือที่ไม่มี
SDS-plus
เพื่อเจาะตอก
!
เครื่องมือที่ไม่มี
SDS-plus
รวมทั้งหัวจับดอกของเครื่องมืออาจ
ชำรุดจากการเจาะตอก
–
ใส่หัวจับดอกชนิดมีเฟืองใน
14
(
ดู
"
การเปลี่ยนหัวจั
บดอกชนิดมีเฟืองใน
"
หน้า
39)
–
เปิดหัวจับดอกชนิดมีเฟืองใน
14
โดยการหมุนจนสามารถใส่
เครื่องมือได้
จับเครื่องมือใส่เข้าไป
–
ใส่ประแจหัวจับดอกเข้าในรูที่ลงรอยกันของหัวจับดอกชนิดมี
เฟืองใน
14
และหนีบเครื่องมือเข้าเท่าๆ
กัน
–
สับสวิทช์
8
ไปที่สัญลักษณ์
"
การเจาะ
"
การถอดเครื่องมือเจาะที่ไม่มี
SDS-plus
–
หมุนปลอกของหัวจับดอกชนิดมีเฟืองใน
14
ด้วยประแจหัวจับ
ดอกไปในทิศทวนเข็มนาฬิกาจนสามารถถอดเครื่องมือเจาะ
ออกมาได้
การดูดฝุ่นด้วยอุปกรณ์ดูดฝุ่น
(
อุปกรณ์ประกอบ
)
f
ฝุ่นที่ได้จากวัสดุ
เช่น
เคลือบผิวที่มีสารตะกั่ว
ไม้บางประเภท
แร่ธาตุ
และโลหะ
อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
การสัมผัสหรือ
การหายใจเอาฝุ่นเข้าไปอาจทำให้เกิดปฏิกิริยาแพ้ฝุ่น
และ
/
หรือนำมาซึ่งโรคติดเชื้อระบบหายใจแก่ผู้ใช้เครื่องหรือผู้ที่ยืนอยู่
ใกล้เคียง
ฝุ่นบางประเภท
เช่น
ฝุ่นไม้โอ๊ก
หรือไม้บีช
นับเป็นสารที่ทำให้เกิด
มะเร็ง
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อผสมกับสารเติมแต่งเพื่อบำบัดไม้
(
โครเมต
ผลิตภัณฑ์รักษาเนื้อไม้
)
สำหรับวัสดุที่มีแอสเบสทอส
ต้องให้ผู้เชี่ยวชาญทำงานเท่านั้น
–
ใช้ระบบดูดฝุ่นออกที่เหมาะสมกับประเภทวัสดุ
มากเท่าที่จะทำได้
–
จัดสถานที่ทำงานให้มีการระบายอากาศที่ดี
–
ขอแนะนำให้สวมหน้ากากป้องกันการติดเชื้อที่มีระดับ
-
ไส้กรอง
P2
ปฏิบัติตามกฎข้อบังคับสำคัญอื่นๆ
ที่เกี่ยวกับวัสดุชิ้นงาน
ที่บังคับใช้ในประเทศของท่าน
f
ป้องกันการสะสมของฝุ่นในสถานที่ทำงาน
ฝุ่นสามารถลุกไหม้อย่างง่ายดาย
การประกอบอุปกรณ์ดูดฝุ่น
(
ดูภาพประกอบ
F)
สำหรับการดูดฝุ่นออก
ต้องใช้อุปกรณ์ดูดฝุ่น
(
อุปกรณ์ประกอบ
)
ขณะเจาะรู
อุปกรณ์ดูดฝุ่นจะร่นกลับเพื่อให้ส่วนหัวของอุปกรณ์
ดูดฝุ่นอยู่ชิดกับพื้นผิวรูเจาะเสมอ
–
กดปุ่มปรับก้านวัดความลึก
9
และถอดก้านวัดความลึก
10
ออก
กดปุ่ม
9
อีกครั้งและใส่อุปกรณ์ดูดฝุ่นเข้าในด้ามจับเพิ่ม
11
จากด้านหน้า
–
ต่อท่อดูดฝุ่น
(
เส้นผ่าศูนย์กลาง
19
มม
.
อุปกรณ์ประกอบ
)
เข้ากับปลอกดูด
16
ของอุปกรณ์ดูดฝุ่น
เครื่องดูดฝุ่นต้องมีลักษณะการใช้งานที่เหมาะกับประเภทวัสดุ
ชิ้นงาน
ในกรณีดูดฝุ่นแห้งที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพอย่างยิ่งหรืออาจ
ก่อให้เกิดมะเร็งได้
ให้ใช้เครื่องดูดฝุ่นพิเศษ
การปรับความลึกรูเจาะบนอุปกรณ์ดูดฝุ่น
(
ดูภาพประกอบ
G)
ความลึกรูเจาะที่ต้องการ
X
สามารถปรับได้แม้มีอุปกรณ์ดูดฝุ่น
ประกอบติดอยู่
–
ใส่เครื่องมือเจาะ
SDS-plus
เข้าในด้ามจับเครื่องมือ
SDS-plus
1
จนสุด
หากใส่ไม่สุดเครื่องมือเจาะ
SDS-plus
จะเคลื่อนที่ได้
และจะทำให้ปรับความลึกรูเจาะได้ไม่ถูกต้อง
–
คลายน๊อตปีก
20
บนอุปกรณ์ดูดฝุ่น
–
จับเครื่องมือไฟฟ้าเข้าหาจุดที่จะเจาะอย่างมั่นคงโดยไม่ต้องเปิด
สวิทช์
เครื่องมือเจาะ
SDS-plus
ต้องหันเข้าหาพื้นผิวที่จะเจาะ
–
เลื่อนท่อนำ
21
ของอุปกรณ์ดูดฝุ่นในที่ยึดของมันในลักษณะให้
หัวของอุปกรณ์ดูดฝุ่นหันเข้าหาพื้นผิวที่จะเจาะ
อย่าเลื่อน
ท่อนำ
21
ครอบเหนือท่อสวมปล้องแบบกล้องส่องทางไกล
19
ของอุปกรณ์ดูดฝุ่นมากเกินจำเป็น
ต้องเลื่อนครอบให้เห็น
มาตราส่วน
19
บนท่อสวมปล้องแบบกล้องส่องทางไกล
ให้ได้มากที่สุด
–
ขันน๊อตปีก
20
กลับให้แน่นตามเดิม
คลายน๊อตหนีบ
17
บน
ก้านวัดความลึกของอุปกรณ์ดูดฝุ่น
–
เลื่อนก้านวัดความลึก
18
บนท่อสวมปล้องแบบกล้องส่อง
ทางไกล
19
ในลักษณะให้ช่องว่าง
X
ดังปรากฏในภาพ
ประกอบมีค่าเท่ากับความลึกรูเจาะที่ต้องการ
–
ขันน๊อตหนีบ
17
ในตำแหน่งนี้เข้าให้แน่น
OBJ_BUCH-1281-002.book Page 40 Tuesday, October 12, 2010 3:05 PM