TH
คู่มือการใช้งาน
TH
คู่มือการใช้งาน
472
64.1168.0790 I 002
64.1168.0790 I 002
473
7.
ผึ่งให้แห้งหลังทําความสะอาด
8.2 การเก็บ
เก็บหม้ออัดแรงดันในที่ ๆ สะอาดและไม่อับชื้น
1.
นําฝาออกตามที่ระบุไว้ ในบทที่ 5.1
2.
นําซีลยางกันรั่วออกจากฝาหม้อและเก็บแยกไว้
3.
นําด้ามจับฝาหม้อออกตามที่ระบุไว้ ในบทที่ 5.1 และ
วางไว้ ในหม้อ
4.
ควํ่าฝาและวางบนหม้อ
8.3 การดูแลรักษา
/
อุปกรณ์ป้องกันภัย หูจับหม้อด้านข้าง และด้ามจับหม้อ
จะต้องได้รับการเปลี่ยนโดยช่างผู้เชี่ยวชาญจากตัวแทน
จําหน่ายจาก WMF เท่านั้น
/
ตรวจสอบชิ้นส่วนต่าง ๆ อย่างสมํ่าเสมอ และเปลี่ยนชิ้น
ส่วนจาก WMF เท่านั้น
/
เปลี่ยนซีลยางกันรั่วและซีลยางแบบคู่หากพบว่าชํารุด สี
ซีด หรือหลวม
8.3.1 การเปลี่ยนซีลยางกันรั่ว
1.
นําฝาออกตามที่ระบุไว้ ในบทที่ 5.1
2.
เปิดฝา
3.
นําซีลยางกันรั่วที่ชํารุดออกจากขอบหม้อและนําไปทิ้ง
4.
นําซีลยางกันรั่วใหม่ใส่ที่ขอบหม้อ และกดให้เข้าขอบ
อย่างระมัดระวัง
8.3.2 การเปลี่ยนซีลยางแบบคู่
1.
นําฝาออกตามที่ระบุไว้ ในบทที่ 5.1
2.
เปิดฝา
3.
ถือฝาและกดตัวล็อคด้ามจับหม้อจนถึงปลายด้าม
4.
นําด้ามจับออก
5.
นําซีลยางแบบคู่ออกจากด้ามจับและนําไปทิ้ง
6.
ใส่ซีลยางแบบคู่อย่างระมัดระวัง
7.
ซีลยางแบบคู่ (15) จะต้องไม่บังวาล์วอื่น ๆ
8.
ลูกศรทั้งสองจะต้องหันหน้าเข้าหากันและตัวซีลจะ
ต้องแตะด้ามจับหม้อ (11)
9.
จะต้องไม่มีช่องว่างระหว่างด้ามจับ
10.
ซีลยางแบบคู่ (15) จะต้องอยู่ใต้ขอบซีล (20) ของด้าม
จับหม้อ (11)
2.
เพื่อเสร็จสิ้นการปรุงอาหาร
a)
คลายตะแกรงอบเนื้อ
b)
ใส่นํ้าในปริมาณที่จําเป็น (อย่างน้อย 1/4 ลิตร)
c)
ใส่อาหารประเภทอื่นโดยใช้หรือไม่ใช้ตะแกรงได้
3.
ปิดฝาหม้อตามที่ระบุไว้ ในบทที่ 5.3
4.
ตั้งระบบการปรุงอาหารโดยใช้ลูกบิด (12) ตามที่ระบุไว้ ในบท
ที่ 6.5
7.3 การปรุงอาหารแช่แข็ง
1.
ใส่นํ้าในหม้อในจํานวนน้อย (1/4 ลิตร)
2.
ใส่อาหารแช่แข็งที่ยังไม่ผ่านการละลายนํ้าแข็งลงในหม้อ
3.
ทําการละลายนํ้าแข็งด้วยการย่าง (Sear) เนื้อในหม้อ
4.
ใส่ผักลงในตะแกรงเหล็ก (Inserts) แบบไม่มีรู
▶
เวลาในการปรุงจะนานขึ้น
7.4 การเตรียมพร้อมอาหารประเภท พืชตระกูลถั่ว หรือ ธัญพืช
อาหารประเภทนี้ไม่จําเป็นต้องแช่นํ้าก่อนปรุงในหม้ออัดแรงดัน
▶
อย่างไรก็ตาม เวลาการปรุงอาหารประเภทนี้จะเพิ่มขึ้นครึ่ง
หนึ่ง
▶
ตรวจสอบให้แน่ใจว่าการปรุงอาหารประเภทนี้จะต้องอยู่ใน
ปริมาณครึ่งหม้อเท่านั้น
1.
เติมนํ้าลงไปในหม้ออย่างน้อย 1/4 ของหม้อ ใส่นํ้าลงไปอย่าง
น้อย 2 ส่วน และ พืชตระกูลถั่ว หรือ ธัญพืชอีก 1 ส่วน
2.
หลังจากการปรุงอาหารเสร็จสิ้นให้ปิดตัวจ่ายไฟทันทีและใช้
ความร้อนที่ค้างบนเตาไฟเป็นแหล่งความร้อนในการปรุง
7.5 การฆ่าเชื้อ
1.
ขวดนมเด็ก หรือขวดโหลรักษาอาหารสามารถนํามาฆ่าเชื้อ
ได้ โดยวางของดังกล่าวในตะแกรงเหล็ก (Inserts) แบบเจาะ
รู และควํ่าขวด
2.
ใส่นํ้า 1.4 ลิตร
3.
ฆ่าเชื้อเป็นเวลา 20 นาทีโดยใช้ โปรแกรมปรุงอาหารระดับ 2
4.
ทิ้งไว้ ให้เย็นโดยใช้ความร้อนที่เหลือในหม้อ (วิธีที่1)
7.6 การนึ่ง
1.
เตรียมอาหารเป็นปกติและใส่ลงในขวดโหลรักษาอาหาร
2.
ใส่นํ้า 1.4 ลิตร
3.
วางขวดโหลรักษาอาหารลงในตะแกรงเหล็กแบบเจาะรู
4.
นึ่งโดยการนําขวดโหลรักษาอาหารที่มีความจุ 1 ลิตรลงไปใน
หม้อขนาด 6.5 หรือ 8.5 ลิตร ในกรณีที่ต้องการนึ่งโดยใช้หม้อ
ขนาดเล็กกว่า (4.5 ลิตร) ให้ ใช้ขวดโหลที่มีขนาดเล็กกว่า 1 ลิตร
5.
ปรุงผักหรือเนื้อสัตว์โดยใช้ โปรแกรมปรุงอาหารระดับ
2 เป็นเวลา 20 นาที ปรุงผลไม้เม็ดแข็งใช้ โปรแกรมปรุง
อาหารระดับ 1 เป็นเวลา 5 นาที และผลไม้เม็ดเล็กเป็น
เวลา 10 นาที
6.
เมื่อต้องการอบไอนํ้า ปล่อยให้หม้อเย็นลงอย่างช้า ๆ
เนื่องจากนํ้าผลไม้จะทะลักออกจากขวดโหลหากใช้วิธีอื่น
7.7 การสกัดนํ้าจากผลไม้
สามารถนําผลไม้มาแปรรูปเป็นนํ้าผลไม้ได้ ในหม้ออัดแรง
ดันได้ ในปริมาณน้อย
1.
ใส่นํ้า 1.4 ลิตร
2.
นําผลไม้วางลงในตะแกรงเหล็กแบบเจาะรู หรือ หาก
ต้องการสามารถใช้ตะแกรงเหล็กแบบไม่มีรูและเติม
นํ้าตาลลงไปได้
3.
ทําการปรุงด้วยโปรแกรมปรุงอาหารระดับ เป็นเวลา 10 -
20 นาที ขึ้นอยู่กับประเภทของผลไม้
4.
ปล่อยแรงดันด้วยการวางหม้อในอ่างล้างจานแล้วเปิดนํ้า
เย็นให้ โดนฝาหม้อ หลังจากที่แรงดันลดลง ให้เขย่าหม้อ
เล็กน้อยและเปิดหม้ออย่างระมัดระวัง
8. การทําความสะอาด การให้บริการ และการ
เก็บ
8.1 การทําความสะอาด
ใช้นํ้าร้อนและนํ้ายาล้างจานในการทําความสะอาด
▶
ห้ามใช้ฝอยขัดหม้อ นํ้ายาทําความสะอาดแบบ
รุนแรง หรือด้านแข็งของฟองนํ้าในการทําความ
สะอาด
1.
นําด้ามจับฝาหม้อตวามที่ระบุไว้ ในบทที่ 5.1 และ
ทําความสะอาดด้วยนํ้าประปา
2.
นําซีลยางกันรั่วออกจากฝาและล้างด้วยมือ
3.
นําหม้อที่มีคราบอาหารติดล้างนํ้า ใส่นํ้าปริมาณน้อย
แล้วนํามาต้มให้เดือด
4.
ทําความสะอาดวาล์วจากสิ่งปรกและสิ่งอุดตันโดยใช้
คอตตอนบัด
5.
สามารถล้างหม้อ ตะแกรงเหล็ก (Inserts) และ ตะแกรง
เหล็กวางหม้อ (Trivet) ด้วยเครื่องล้างจานได้
▶
อย่างไรก็ตามการล้างด้วยเครื่องล้างจานสามารถ
ทําให้พื้นผิวสีซีดได้ แต่ไม่ส่งผลต่อการใช้งาน
▶
ควรล้างด้วยมือ
6.
หากพบคราบหินปูนให้ผสมนํ้าและนํ้าส้มสายชูด้วยกัน
และต้มในหม้อ
Содержание Perfect Excellence
Страница 265: ...TH คู มือการใช งาน 478 64 1168 0790 I 002 ...