9
3
.
การซ่อมชิ้นส่วนที่ปิดผนึก
•
ระหว่างการซ่อมแซมชิ้นส่วนที่ปิดผนึกไว ้
จะต ้องตัด
การเชื่อมต่อแหล่งจ่ายไฟฟ้าทั้งหมดจากอุปกรณ์ที่
ใช ้งานก่อนการถอดฝาใด
ๆ
ที่ผนึก
ฯลฯ
•
หากจําเป็นอย่างยิ่งที่จะต ้องจ่ายไฟฟ้าแก่อุปกรณ์
ระหว่างที่ซ่อมบํารุง
จะต ้องดําเนินการตรวจตรา
การรั่วไหลตลอดเวลาในจุดที่สําคัญที่สุดเพื่อเตือน
สถานการณ์อันตรายที่อาจเกิดขึ้น
•
ควรให ้ความสนใจโดยเฉพาะกับสิ่งต่อไปนี้เพื่อ
รับรองความปลอดภัยเมื่อทํางานกับชิ้นส่วนไฟฟ้า
ต ้องไม่แก ้ไขฝาครอบในลักษณะที่จะส่งผลต่อระดับ
ของการป้องกัน
ซึ่งจะรวมถึงความเสียหายต่อสาย
ไฟ
จํานวนการเชื่อมต่อที่มากเกินไป
ขั้วที่ไม่ตรง
ตามข ้อกําหนดเดิม
ความเสียหายต่อผนึก
ความไม่
พอดีของปลอกอัด
ฯลฯ
•
รับรองว่ายึดอุปกรณ์อย่างแน่นหนา
•
รับรองว่าผนึก
หรือวัสดุที่ใช ้ผนึกไม่ได ้เสื่อมจนไม่
สามารถทําหน ้าที่ป้องกันอากาศที่สามารถติดไฟ
เข ้าไปได ้
•
ชิ้นส่วนที่เปลี่ยนจะต ้องสอดคล ้องกับข ้อกําหนด
ของผู ้ผลิต
หมายเหตุ
:
การใช ้สารผนึกที่เป็นซิลิโคนอาจขัดขวาง
ประสิทธิภาพของอุปกรณ์ตรวจสอบการรั่วไหลบาง
ประเภท
ไม่ต ้องแยกส่วนประกอบที่ปลอดภัยสมบูรณ์ก่อนการ
ทํางาน
4
.
ซ่อมชิ้นส่วนให้ปลอดภ ัยสมบูรณ์
•
ห ้ามใช ้โหลดที่มีความเหนี่ยวนําหรือความ
จุไฟฟ้าถาวรกับวงจรโดยไม่ตรวจสอบให ้
แน่ใจว่าจะไม่มีแรงดันไฟฟ้าและกระแส
ไฟฟ้าเกินค่าที่อนุญาตสําหรับอุปกรณ์
ไฟฟ้าที่ใช ้งานอยู่
•
ชิ้นส่วนที่ปลอดภัยสมบูรณ์สามารถใช ้งานได ้ในขณะ
ที่อยู่ในบรรยากาศที่ติดไฟได ้เพียงชนิดเดียวเท่านั้น
•
อุปกรณ์ทดสอบจะต ้องได ้รับการประเมินอย่างถูก
ต ้อง
•
เปลี่ยนอุปกรณ์ด ้วยชิ้นส่วนที่ได ้รับการระบุจากผู ้
ผลิตเท่านั้น
ชิ้นส่วนที่ไม่ได ้ระบุโดยผู ้ผลิตอาจ
ส่งผลให ้เกิดประกายไฟจากการรั่วไหลของสาร
ทําความเย็นในบรรยากาศได ้
5
.
การเดินสายไฟ
•
ตรวจสอบว่าการเดินสายไฟจะไม่เกิดการฉีกขาด
กัดกร่อน
ได ้รับแรงดันเกิน
การสั่นไหว
สัมผัสกับ
ขอบแหลมคม
หรือผลกระทบทางสภาพแวดล ้อมที่
ไม่พึงประสงค์อื่น
ๆ
•
การตรวจสอบยังต ้องดูถึงผลกระทบจากการสั่นไหว
จากแหล่งกําเนิดต่างๆ
เช่น
คอมเพรสเซอร์หรือ
พัดลมเป็นเวลานานหรือต่อเนื่อง
6
.
การตรวจสอบสารทําความเย็นที่ติดไฟได้
•
ห ้ามใช ้แหล่งกําเนิดไฟไม่ว่าในสถานการณ์ใดขณะ
ที่หา
หรือตรวจสอบการรั่วไหลของสารทําความเย็น
•
ไม่ควรใช ้
หัวเปลวตรวจรั่ว
(
หรืออุปกรณ์ตรวจสอบ
อื่น
ๆ
ที่ใช ้เปลวไฟ
)
7
.
วิธีการตรวจจ ับการร ั่วไหลต่อไปนี้ถือเป็นที่
ยอมร ับได้สําหร ับระบบทําความเย็นทุกชนิด
•
ไม่ควรตรวจพบการรั่วเมื่อใช ้อุปกรณ์ตรวจสอบการ
รั่วไหลที่มีความไวในการตรวจสอบการรั่วของสาร
ทําความเย็นอยู่ที่
5
กรัมต่อปีหรือมากกว่านั้นภายใต ้
แรงดันอย่างตํ่า
0.25
เท่าของแรงดันสูงสุดที่ทนได ้
(
>1.04MPa
สูงสุด
4.15MPa
)
เช่น
อุปกรณ์ตรวจ
สอบการรั่วไหลของสารหลากหลายประเภท
•
ใช ้อุปกรณ์ตรวจสอบการรั่วไหลไฟฟ้าเพื่อตรวจหา
สารทําความเย็นที่ติดไฟได ้
แต่ความไวอาจไม่เพียง
พอ
หรืออาจต ้องปรับเทียบอีกครั้ง
(
จะต ้องปรับเทียบอุปกรณ์การตรวจสอบในพื้นที่ที่
ปราศจากสารทําความเย็น
)
•
รับรองว่าอุปกรณ์ตรวจสอบไม่มีแนวโน ้มเป็นแหล่ง
กําเนิดไฟ
และเหมาะสมกับสารทําความเย็นที่ใช ้
•
ต ้องตั้งอุปกรณ์ตรวจสอบการรั่วไหลที่เปอร์เซ็นต์
ของ
LFL
ของสารทําความเย็น
และจะต ้องปรับตั้ง
เทียบกับสารทําความเย็นที่ใช ้และยืนยันเปอร์เซ็นต์
ของแก๊สที่เหมาะสม
(
สูงสุด
25%
)
•
สารตรวจสอบการรั่วไหลเหมาะสมที่จะใช ้กับสาร
ทําความเย็นส่วนใหญ่
เช่น
สารทําปฏิกิริยาให ้เกิด
ฟองและสารทําปฏิกิริยาเรืองแสง
ควรหลีกเลี่ยง
การใช ้สารชะล ้างที่มีคลอรีน
เนื่องจากคลอรีนอาจ
มีปฏิกิริยากับสารทําความเย็นและอาจกัดกร่อนท่อ
ทองแดงได ้
•
หากสงสัยว่ามีการรั่วไหล
ต ้องนําเปลวไฟออกหรือ
ดับไฟทั้งหมด
•
หากจําเป็นต ้องบัดกรีจุดที่สารทําความเย็นรั่วไหล
ต ้องดูดเก็บสารทําความเย็นทั้งหมดจากระบบหรือ
แยก
(
โดยการปิดวาล์ว
)
ในส่วนของระบบที่ไกล
จากจุดรั่วไหล
จะต ้องถ่ายไนโตรเจนที่ปราศจาก
ออกซิเจน
(
OFN
)
ผ่านระบบทั้งก่อนและระหว่าง
กระบวนการบัดกรี
ต ้องปฏิบัติตามข ้อกําหนดเพื่อ
ความปลอดภัยใน
#8
เพื่อนําสารทําความเย็นออก
ข
้อควรระว
ังเพ
ื่อความปลอดภ
ัย
ภาษาไทย
ACXF55-31610.indb 9
ACXF55-31610.indb 9
8/26/2021 11:56:27 AM
8/26/2021 11:56:27 AM