8
ข ้อควรระวังเพื่อความปลอดภัย
2
-
7
.
การตรวจสอบอุปกรณ์ทําความเย็น
•
เมื่อมีการเปลี่ยนชิ้นส่วนไฟฟ้า
จะต ้องตรงกับการใช ้
งานและข ้อกําหนดที่ถูกต ้อง
•
ต ้องดําเนินการตามคําแนะนําการซ่อมบํารุงและการ
ให ้บริการของผู ้ผลิตตลอดเวลา
•
หากมีข ้อสงสัยให ้ปรึกษาแผนกเทคนิคของผู ้ผลิต
เพื่อขอความช่วยเหลือ
•
ต ้องทําการตรวจสอบต่อไปนี้กับการติดตั้งที่ใช ้สาร
ทําความเย็นที่ติดไฟได ้
-
การเติมสารทําความเย็นตามจริงจะขึ้นอยู่กับ
ขนาดห ้องที่มีการติดตั้งชิ้นส่วนที่มีสารทําความ
เย็น
-
เครื่องระบายอากาศและท่อระบายจะต ้องทํางาน
อย่างพอเพียงและไม่ถูกปิดกั้น
-
หากมีการใช ้แผงวรจรทําความเย็นโดยอ ้อม
จะ
ต ้องตรวจสอบแผงวงจรรองเพื่อหาว่ามีสาร
ทําความเย็นหรือไม่
-
ทําเครื่องหมายอุปกรณ์อย่างต่อเนื่องให ้มองเห็น
ได ้
และอ่านออก
จะต ้องแก ้ไขเครื่องหมายและ
สัญลักษณ์ที่อ่านไม่ออกให ้ถูกต ้อง
-
การติดตั้งท่อหรือชิ้นส่วนการทําความเย็นจะต ้อง
อยู่ในตําแหน่งที่จะไม่สัมผัสกับสารใดๆ
ที่อาจ
กัดกร่อนชิ้นส่วนที่มีสารทําความเย็น
เว ้นแต่ชิ้น
ส่วนนั้นจะทําจากวัสดุที่ทนทานต่อการกัดกร่อน
หรือได ้รับการป้องกันจากการกัดกร่อน
2
-
8
.
การตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้า
•
การซ่อมแซมและการซ่อมบํารุงชิ้นส่วนไฟฟ้าจะต ้อง
มีการตรวจสอบความปลอดภัยและขั้นตอนการตรวจ
สอบชิ้นส่วนเบื้องต ้น
•
การตรวจสอบความปลอดภัยเบื้องต ้นจะรวมถึง
แต่
ไม่จํากัด
:-
-
ว่ามีการปล่อยประจุตัวเก็บประจุนั้น
:
ซึ่งจะทํา
อย่างปลอดภัยเพื่อหลีกเลี่ยงโอกาสที่จะเกิด
ประกายไฟ
-
ว่ามีชิ้นส่วนและสายไฟฟ้าใดที่มีไฟฟ้าอยู่
และสัมผัสกับภายนอกขณะที่เติมนํ้ายา
ดูดเก็บ
หรือระบายระบบ
-
ว่ามีการต่อสายดินอย่างต่อเนื่อง
•
ต ้องดําเนินการตามคําแนะนําการซ่อมบํารุงและการ
ให ้บริการของผู ้ผลิตตลอดเวลา
•
หากมีข ้อสงสัยให ้ปรึกษาแผนกเทคนิคของผู ้ผลิต
เพื่อขอความช่วยเหลือ
•
หากเกิดความผิดพลาดที่อาจกระทบต่อความ
ปลอดภัย
ห ้ามเชื่อมต่อวงจรกับแหล่งจ่ายไฟฟ้า
จนกว่าจะแก ้ไขจนน่าพอใจ
•
หากไม่สามารถแก ้ไขความผิดพลาดได ้ทันที
แต่
จําเป็นต ้องดําเนินการต่อ
จะต ้องใช ้กระบวนการ
แก ้ไขชั่วคราวอย่างเพียงพอ
•
เจ ้าของอุปกรณ์จะต ้องแจ ้งหรือรายงานเพื่อแนะนํา
ทุกฝ่ายนับตั้งแต่นั้น
2
-
3
.
การตรวจสอบสารทําความเย็นค ั่งค้าง
•
ควรตรวจสอบพื้นที่ด ้วยเครื่องตรวจสอบสารทําความ
เย็นที่เหมาะสมก่อนและระหว่างการทํางาน
เพื่อ
รับรองว่าช่างเทคนิคจะระวังบรรยากาศที่อาจเกิด
เพลิงไหม ้ได ้
•
รับรองว่าอุปกรณ์ตรวจสอบการรั่วไหลที่ใช ้มีความ
เหมาะสมกับสารทําความเย็นที่ติดไฟได ้
เช่น
ไม่
ก่อประกายไฟ
ผนึกไว ้อย่างเพียงพอ
หรือมีความ
ปลอดภัยอย่างแท ้จริง
•
ในกรณีที่เกิดการรั่วไหล
/
หก
ให ้ระบายอากาศพื้นที่
นั้นทันทีและอยู่เหนือลมให ้ห่างจากจุดที่มีสารหก
/
รั่วไหล
•
ในกรณีที่เกิดการรั่วไหล
/
หก
ให ้แจ ้งบุคคลที่อยู่ใต ้
ลมถึงการรั่วไหล
/
หก
กันพื้นที่อันตรายออกทันที
และห ้ามให ้บุคคลที่ไม่ได ้รับอนุญาตเข ้า
2
-
4
.
มีอุปกรณ์ด ับเพลิง
•
หากทํางานที่ต ้องใช ้ความร ้อนกับอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับ
อุปกรณ์การทําความเย็นหรือชิ้นส่วนใดๆ
ที่เกี่ยวข ้อง
จะต ้องมีอุปกรณ์ดับเพลิงที่เหมาะสมอยู่ใกล ้มือ
•
มีผงแป้งดับเพลิงหรืออุปกรณ์ดับเพลิงด ้วย
CO
2
อยู่
ใกล ้
ๆ
พื้นที่ที่เติมสารทําความเย็น
2
-
5
.
ไม่มีแหล่งกําเนิดไฟ
•
ห ้ามบุคคลที่ทํางานเกี่ยวข ้องกับระบบการทําความ
เย็นสัมผัสท่อที่ประกอบด ้วยหรือมีสารทําความเย็น
ที่ติดไฟได ้
ใช ้แหล่งกําเนิดไฟในลักษณะที่อาจก่อ
ให ้เกิดความเสี่ยงต่อเพลิงไหม ้หรือเกิดการระเบิด
บุคคลที่ทํางานจะต ้องไม่สูบบุหรี่ในขณะที่ทํางาน
ดังกล่าว
•
ควรเก็บแหล่งกําเนิดไฟที่เป็นไปได ้ทั้งหมด
รวมถึง
การสูบบุหรี่ให ้ห่างอย่างเพียงพอจากหน ้างานที่ติด
ตั้ง
ซ่อมแซม
ถอดออก
หรือกําจัด
ในขณะที่สาร
ทําความเย็นที่สามารถติดไฟได ้อาจรั่วไหลสู่พื้นที่
รอบข ้างได ้
•
ต ้องทําการสํารวจพื้นที่รอบอุปกรณ์ก่อนเริ่มการ
ทํางานเพื่อให ้แน่ใจว่าไม่มีสิ่งอันตรายที่ติดไฟได ้
หรือความเสี่ยงต่อการเกิดประกายไฟ
•
จะต ้องแสดงป้าย
“
ห ้ามสูบบุหรี่
”
2
-
6
.
พื้นที่ที่ระบายอากาศ
•
รับรองว่าพื้นที่นั้นอยู่ในที่เปิดโล่งและได ้รับการ
ระบายอากาศอย่างเพียงพอก่อนการเริ่มการทํางาน
ระบบหรือทํางานใด
ๆ
ที่ต ้องใช ้ความร ้อน
•
ต ้องมีการระบายอากาศอย่างต่อเนื่องระหว่างที่
ดําเนินการทํางาน
•
การระบายอากาศควรกระจายสารทําความเย็นใดๆ
ที่รั่วไหลออกมาอย่างปลอดภัย
และควรระบายสู่
อากาศภายนอก
ACXF55-31610.indb 8
ACXF55-31610.indb 8
8/26/2021 11:56:27 AM
8/26/2021 11:56:27 AM