10
ภาษาไทย
5) การบริการ
ก)
ให้ช่างซ่อมที่มีความเชี่ยวชาญเป็นผู้ซ่อมเครื่องมือ และ
ใช้อะไหล่ที่แท้เท่านั้น ซึ่งจะช่วยให้มั่นใจได้ว่า
เครื่องมือไฟฟ้ายังมีความปลอดภัยอยู่
ข้อปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยส�าหรับการใช้งาน
ทุกประเภท
ค�าเตือนเพื่อความปลอดภัยทั่วไปส�าหรับการเจียร การขัด
การใช้แปรงลวด การขัดเงาหรือการกรอ การตัด
ก)
เครื่องมือไฟฟ้านี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการใช้งานเช่น
เดียวกับเครื่องเจียร อ่านค�าเตือน ข้อปฏิบัติเพื่อความ
ปลอดภัยทั้งหมด รวมทั้งภาพประกอบและข้อมูล
จ�าเพาะที่ให้มากับเครื่องมือไฟฟ้านี้ การไม่ปฏิบัติตาม
ค�าเตือนและข้อปฏิบัติเหล่านี้อาจท�าให้เกิดไฟฟ้าช็อต
เกิดอัคคีภัย และ/หรือ บาดเจ็บสาหัสได้
ข)
ไม่แนะน�าให้ใช้เครื่องมือไฟฟ้านี้กับการท�างานประเภท
การขัดด้วยแปรงลวด การขัดด้วยกระดาษทราย
เครื่องขัดเงาหรือเครื่องมือตัด การท�างานที่ไม่ตรงตาม
ที่เครื่องมือได้รับการออกแบบมาอาจท�าให้เกิดอันตรายและ
เกิดการบาดเจ็บได้
ค)
ห้ามใช้อุปกรณ์เสริมซึ่งไม่ได้รับการออกแบบมาโดย
เฉพาะหรือไม่ได้รับการแนะน�าจากผู้ผลิตเครื่องมือ
การที่อุปกรณ์เสริมสามารถต่อเข้ากับเครื่องมือไฟฟ้าของ
คุณได้นั้น ไม่ได้รับประกันว่าอุปกรณ์เสริมนั้นจะท�างาน
อย่างปลอดภัย
ง)
ความเร็วตามพิกัดของอุปกรณ์เสริมจะต้องเท่ากับ
ความเร็วสูงสุดที่ก�ากับไว้บนเครื่องมือไฟฟ้าเป็นอย่าง
น้อย อุปกรณ์เสริมที่ต้องท�างานด้วยความเร็วมากกว่าพิกัด
ความเร็วของอุปกรณ์ อาจแตกหักและกระเด็นหลุดออกได้
จ)
เส้นผ่าศูนย์กลางภายนอกและความหนาของอุปกรณ์
เสริมต้องอยู่ภายในพิกัดความสามารถของเครื่องมือ
ไฟฟ้า อุปกรณ์เสริมที่มีขนาดไม่ถูกต้องไม่สามารถให้การ
ป้องกันหรือควบคุมได้เพียงพอ
ฉ)
ขนาดรูยึดของแผ่นเจียร หน้าแปลน แผ่นรองหลัง หรือ
อุปกรณ์เสริมอื่นใดต้องเข้ากันได้พอดีกับแกนหมุนของ
เครื่องมือไฟฟ้า อุปกรณ์เสริมที่มีขนาดของรูไม่ตรงกันกับ
ส่วนติดตั้งของเครื่องมือไฟฟ้าจะท�าให้ขาดความสมดุล
มีอาการสั่นผิดปกติ และอาจท�าให้สูญเสียการควบคุมได้
ช)
ห้ามใช้อุปกรณ์เสริมที่ช�ารุดเสียหาย ก่อนการใช้งาน
ทุกครั้ง ให้ตรวจสอบอุปกรณ์เสริม เช่น แผ่นขัดเพื่อหา
เศษวัสดุและรอยร้าว ตรวจดูแป้นรองเพื่อหารอยร้าว
การฉีกขาดหรือการสึกหรอที่มากเกินไป ตรวจดูแปรง
ลวดเพื่อหาการหลวมหรือเส้นลวดที่แตกหัก ถ้าเครื่อง
มือไฟฟ้าหรืออุปกรณ์เสริมตกหล่น ให้ตรวจหาการ
ช�ารุดเสียหายหรือติดตั้งอุปกรณ์เสริมที่ไม่ช�ารุด หลังจาก
จ)
ห้ามยืนเขย่งเท้าขณะใช้เครื่อง ควรยืนในท่าที่เหมาะ
สมและสมดุลตลอดเวลา เพื่อช่วยในการควบคุมเครื่องมือ
ไฟฟ้าได้ดียิ่งขึ้นในสถานการณ์ที่ไม่คาดคิด
ฉ)
แต่งกายให้เหมาะสม ห้ามสวมเสื้อผ้าหลวมหรือใส่
เครื่องประดับ รวบผม ชายเสื้อ และถุงมือให้ห่างจาก
ชิ้นส่วนที่ก�าลังหมุน เสื้อผ้าที่หลวมหรือยาวรุ่มร่าม เครื่อง
ประดับ หรือผมที่ยาวอาจเข้าไปพันกับชิ้นส่วนที่ก�าลังหมุน
ช)
หากมีอุปกรณ์ส�าหรับดูดและเก็บฝุ่น ต้องตรวจสอบให้
แน่ใจว่าได้เชื่อมต่อและใช้งานอุปกรณ์นั้นอย่างเหมาะสม
การใช้อุปกรณ์เก็บฝุ่นจะช่วยลดอันตรายที่เกี่ยวข้องกับฝุ่นได้
4) การใช้และการดูแลรักษาเครื่องมือไฟฟ้า
ก)
ห้ามฝืนใช้เครื่องมือไฟฟ้า เลือกใช้เครื่องมือไฟฟ้าที่ถูก
ต้องตรงกับลักษณะการใช้งานของคุณ เครื่องมือไฟฟ้า
ที่ถูกต้องย่อมท�างานได้ดีกว่าและปลอดภัยกว่า เมื่อใช้งาน
ตามพิกัดที่เครื่องมือได้รับการออกแบบมา
ข)
ห้ามใช้เครื่องมือไฟฟ้าถ้าสวิตช์เปิดปิดเครื่องไม่ท�างาน
เครื่องมือไฟฟ้าที่ไม่สามารถควบคุมผ่านสวิตช์ได้ ถือว่ามี
อันตรายและต้องส่งซ่อม
ค)
ถอดปลั๊กของเครื่องมือไฟฟ้าออกจากแหล่งจ่ายไฟ และ/
หรือ แบตเตอรี่ก่อนท�าการปรับแต่ง เปลี่ยนอุปกรณ์เสริม
หรือจัดเก็บ มาตรการเพื่อความปลอดภัยเชิงป้องกันนี้จะช่วย
ลดความเสี่ยงในการเผลอเปิดเครื่องให้ท�างานโดยไม่ตั้งใจ
ง)
เก็บเครื่องมือไฟฟ้าที่ไม่ได้ใช้งานไว้ให้พ้นมือเด็ก และ
ไม่อนุญาตให้บุคคลที่ไม่คุ้นเคยกับเครื่องมือไฟฟ้าหรือ
ข้อปฏิบัติเหล่านี้เป็นผู้ใช้เครื่องมือ เครื่องมือไฟฟ้าจะเป็น
อันตรายหากอยู่ในมือผู้ใช้ที่ไม่ผ่านการฝึกอบรม
จ)
การบ�ารุงรักษาเครื่องมือไฟฟ้า ตรวจสอบว่าชิ้นส่วนที่
เคลื่อนที่ได้มีการวางไม่ตรงแนวหรือติดขัดหรือไม่ มี
ชิ้นส่วนที่แตกหัก และสภาพอื่นใดที่อาจส่งผลต่อการ
ท�างานของเครื่องมือไฟฟ้าหรือไม่ หากช�ารุดเสียหาย
ให้น�าเครื่องมือไปส่งซ่อมก่อนน�ามาใช้ อุบัติเหตุจ�านวน
มากเกิดจากการดูแลรักษาเครื่องมือไฟฟ้าไม่ดีพอ
ฉ)
เครื่องมือตัดต้องคมและสะอาดอยู่เสมอ เครื่องมือตัด
ที่ได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้อง และมีขอบตัดคม จะมี
ปัญหาติดขัดน้อย และควบคุมได้ง่ายกว่า
ช)
ใช้เครื่องมือไฟฟ้า อุปกรณ์เสริม และชุดอุปกรณ์ต่างๆ
ให้สอดคล้องกับค�าแนะน�าเหล่านี้ โดยพิจารณาถึง
สภาพการท�างานและงานที่ท�าเป็นส�าคัญ การใช้เครื่อง
มือไฟฟ้าท�างานอื่นนอกเหนือจากที่ก�าหนดไว้อาจท�าให้เกิด
อันตรายได้